ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Perennial herbs.
-
พืชล้มลุกมีเหง้าอยู่ใต้ดิน ลำต้นเหนือดินเจริญได้สูงถึง 1.2-1.5 ม. ใบ เป็นใบเดี่ยว รูปหัวลูกศร กว้าง 3-5 ซม. ยาว 5-7.5 ซม. ผิวใบเกลี้ยงเป็นมัน ดอก สีฟ้าอมม่วงออกเป็นช่อ จากส่วนปลายของก้านใบ ยาว 10-20 ซม. มีใบประดับรองรับ ดอกย่อยขนาดผ่านศูนย์กลาง 2-3 ซม. กลีบรวม 6 กลีบ เรียง 2 ชั้น เกสรผู้ 6 อัน ปลายเกสรเพศเมียแยกเป็น 6 แฉก ผล เป็นผลเดี่ยวแห้งแล้วแตก รูปรีถึงกลม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแก่จะมีสีน้ำตาลขนาดประมาณ 7 มม.
-
พืชชายน้ำ
-
พืชล้มลุกมีเหง้าอยู่ใต้ดิน ลำต้นเหนือดินเจริญได้สูงถึง 1.2-1.5 ม. ใบ เป็นใบเดี่ยว รูปหัวลูกศร กว้าง 3-5 ซม. ยาว 5-7.5 ซม. ผิวใบเกลี้ยงเป็นมัน ดอก สีฟ้าอมม่วงออกเป็นช่อ จากส่วนปลายของก้านใบ ยาว 10-20 ซม. มีใบประดับรองรับ ดอกย่อยขนาดผ่านศูนย์กลาง 2-3 ซม. กลีบรวม 6 กลีบ เรียง 2 ชั้น เกสรผู้ 6 อัน ปลายเกสรเพศเมียแยกเป็น 6 แฉก ผล เป็นผลเดี่ยวแห้งแล้วแตก รูปรีถึงกลม ผลอ่อนสีเขียว เมื่อแก่จะมีสีน้ำตาลขนาดประมาณ 7 มม.
ระบบนิเวศ :
-
In paddy fields.
การกระจายพันธุ์ :
-
Peninsular Malaysia.
-
ในประเทศไทยพบในภาคกลาง ภาคอีสาน และทางภาคใต้ ชอบขึ้นในพื้นที่มีน้ำขัง ตามข้างทาง หรือนาข้าว ออกดอกตลอดปี
-
ในประเทศไทยพบในภาคกลาง ภาคอีสาน และทางภาคใต้ ชอบขึ้นในพื้นที่มีน้ำขัง ตามข้างทาง หรือนาข้าว ออกดอกตลอดปี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Bangkok,Phatthalung
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
มีดอกม่วงสวยงาม ใช้ประดับได้
ที่มาของข้อมูล
-
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)