ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Terrestrial in wet soil or in flooded areas.
-
พืชล้มลุกจำพวกเฟิน สูง 10 – 60 ซม. มีเหง้าสั้น ๆ ใบ มี 3 ชนิดแบบแรกคือ ใบที่สืบพันธุ์ไม่ได้ เป็นใบประกอบแบบขนนก ยาวประมาณ 20 ซม. ใบย่อยเป็นแผ่นคล้ายรูปสามเหลี่ยมถึงขอบขนาน ส่วนแบบที่สองคือใบที่สืบพันธุ์ได้ มีลักษณะเหมือนชนิดแรกแต่สร้างสปอร์ได้จะยาวได้ถึง 40 ซม. ใบย่อยแตกออกเป็นหลายแขนงคล้ายเขากวาง อับสปอร์เกิดเรียงตามเส้นใบ ถูกหุ้มปิดไว้ด้วยขอบใบ สปอร์มีสีเหลือง และใบแบบที่สามเป็นใบเดี่ยว ขอบใบหยักเว้าแบบขนนก เป็นใบที่พบบนต้นที่เจริญอยู่ใต้น้ำ
-
พืชล้มลุกจำพวกเฟิน สูง 10 – 60 ซม. มีเหง้าสั้น ๆ ใบ มี 3 ชนิดแบบแรกคือ ใบที่สืบพันธุ์ไม่ได้ เป็นใบประกอบแบบขนนก ยาวประมาณ 20 ซม. ใบย่อยเป็นแผ่นคล้ายรูปสามเหลี่ยมถึงขอบขนาน ส่วนแบบที่สองคือใบที่สืบพันธุ์ได้ มีลักษณะเหมือนชนิดแรกแต่สร้างสปอร์ได้จะยาวได้ถึง 40 ซม. ใบย่อยแตกออกเป็นหลายแขนงคล้ายเขากวาง อับสปอร์เกิดเรียงตามเส้นใบ ถูกหุ้มปิดไว้ด้วยขอบใบ สปอร์มีสีเหลือง และใบแบบที่สามเป็นใบเดี่ยว ขอบใบหยักเว้าแบบขนนก เป็นใบที่พบบนต้นที่เจริญอยู่ใต้น้ำ
-
พืชล้มลุกจำพวกเฟิน สูง 10 – 60 ซม. มีเหง้าสั้น ๆ ใบ มี 3 ชนิดแบบแรกคือ ใบที่สืบพันธุ์ไม่ได้ เป็นใบประกอบแบบขนนก ยาวประมาณ 20 ซม. ใบย่อยเป็นแผ่นคล้ายรูปสามเหลี่ยมถึงขอบขนาน ส่วนแบบที่สองคือใบที่สืบพันธุ์ได้ มีลักษณะเหมือนชนิดแรกแต่สร้างสปอร์ได้จะยาวได้ถึง 40 ซม. ใบย่อยแตกออกเป็นหลายแขนงคล้ายเขากวาง อับสปอร์เกิดเรียงตามเส้นใบ ถูกหุ้มปิดไว้ด้วยขอบใบ สปอร์มีสีเหลือง และใบแบบที่สามเป็นใบเดี่ยว ขอบใบหยักเว้าแบบขนนก เป็นใบที่พบบนต้นที่เจริญอยู่ใต้น้ำ
-
พืชล้มลุกจำพวกเฟิน สูง 10 – 60 ซม. มีเหง้าสั้น ๆ ใบ มี 3 ชนิดแบบแรกคือ ใบที่สืบพันธุ์ไม่ได้ เป็นใบประกอบแบบขนนก ยาวประมาณ 20 ซม. ใบย่อยเป็นแผ่นคล้ายรูปสามเหลี่ยมถึงขอบขนาน ส่วนแบบที่สองคือใบที่สืบพันธุ์ได้ มีลักษณะเหมือนชนิดแรกแต่สร้างสปอร์ได้จะยาวได้ถึง 40 ซม. ใบย่อยแตกออกเป็นหลายแขนงคล้ายเขากวาง อับสปอร์เกิดเรียงตามเส้นใบ ถูกหุ้มปิดไว้ด้วยขอบใบ สปอร์มีสีเหลือง และใบแบบที่สามเป็นใบเดี่ยว ขอบใบหยักเว้าแบบขนนก เป็นใบที่พบบนต้นที่เจริญอยู่ใต้น้ำ
ระบบนิเวศ :
-
In paddy fields usually in open areas, common
throughout the country at low to medium altitudes.
throughout the country at low to medium altitudes.
การกระจายพันธุ์ :
-
Warmer regions throughout the world.
-
พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ขึ้นตามที่ชื้นแฉะและบริเวณน้ำขัง
-
พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ขึ้นตามที่ชื้นแฉะและบริเวณน้ำขัง
-
พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ขึ้นตามที่ชื้นแฉะและบริเวณน้ำขัง
-
พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ขึ้นตามที่ชื้นแฉะและบริเวณน้ำขัง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
MaeHongSon,ChiangMai,Phitsanulok,BuriRam,PhraNakhonSiAyutthaya,PathumThani,Bangkok,ChonBuri,Chanthaburi,Trat,Kanchanaburi,PrachuapKhiriKhan,SuratThani,
NakhonSiThammarat,Phatthalung,Satun
NakhonSiThammarat,Phatthalung,Satun
-
ตาก, กาญจนบุรี, พระนครศรีอยุธยา, นครปฐม, สมุทรสาคร, อุดรธานี
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงโขงหลง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,ไม้ประดับ
ที่มาของข้อมูล
-
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 11 Pteridophytes in Thailand, 2543
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน (Inland Water Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)