ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
สัตว์เลื้อยคลาน
-
งูสิงบ้าน เป็นงูบก ไม่มีพิษ หัวกลมเรียว ตาโตกลมใหญ่ และโปน ลำตัวกลม มีสีพื้นสีน้ำตาลเทา หรือ สีน้ำตาลเขียว มีลายเล็กน้อย แล้วแต่ชนิดของงูสิง ท้องมีสีอ่อนกว่าลำตัว หางเรียวยาว นิสัย งูสิง เป็นงูไม่มีพิษ ไม่ดุ ไม่ฉกกัด ยกเว้นเมื่อไปถูกตัวแล้วงูตกใจ ปกติงูสิง จะคุ้นกับคน หากินอยู่ตามสวนใกล้บ้านคน อาศัยนอนตามรูหรือโพลง อาจขึ้นต้นไม้หรือนอนบนต้นไม้บ้าง เป็นงูที่ว่องไวปราดเปรียว ดูผิวเผิน รวมถึงขนาดตัว จะคล้ายงูเห่า แต่ตัวจะยาวกว่างูเห่า ตาโตกว่า และไม่แผ่แม่เบี้ย
-
ไม่อันตราย ไม่มีพิษ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ยาว 256 เซนติเมตร งูไม่มีพิษ หัวยาว ขนาดต่างจากขนาดของคอ ตาใหญ่ รูม่านตากลม เกล็ดรอบตัว 15 แถว เกล็ด ตัวเรียบ หรือมีสันอ่อน ๆ ทางตอนท้ายของลำตัว หัวสีน้ำตาลอมเทา ลำตัวช่วงหน้าสีเขียวมะกอก ช่วงท้ายสีน้ำตาล ขอบเกล็ดดำ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครพนม
-
กาฬสินธุ์,ขอนแก่น,จันทบุรี,ชลบุรี,ชัยนาท,ชัยภูมิ,ฉะเชิงเทรา,ชุมพร,เชียงราย,ตรัง,ตราด,เชียงใหม่,นครนายก,นครปฐม,นครพนม,ตาก,นคราชสีมา,นครศรีธรรมราช,นนทบุรี,นครสวรรค์,นราธิวาส,น่าน,บุรีรัมย์,ปทุมธานี,กำแพงเพชร,ประจวบคีรีขันธ์,ปราจีนบุรี,ปัตตานี,พระนครศรีอยุธยา,พังงา,พัทลุง,พิจิตร,พิษณุโลก,เพชรบุรี,เพชรบูรณ์,แม่ฮ่องสอน,แพร่,พะเยา,มหาสารคาม,มุกดาหาร,ยโสธร,ยะลา,ร้อยเอ็ด,ระนอง,ระยอง,ภูเก็ต,ราชบุรี,ลพบุรี,ลำปาง,ลำพูน,เลย,ศรีสะเกษ,สกลนคร,สงขลา,สตูล,สมุทรปราการ,กาญจนบุรี,สมุทรสงคราม,สมุทรสาคร,กระบี่,สระบุรี,สิงห์บุรี,สุโขทัย,สุพรรณบุรี,สระแก้ว,สุรินทร์,หนองคาย,อ่างทอง,อำนาจเจริญ,อุดรธานี,อุทัยธานี,บึงกาฬ,อุบลราชธานี,หนองบัวลำภู,สุราษฎร์ธานี,กรุงเทพมหานคร,อุตรดิตถ์
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
พะเยา
-
น่าน
-
น่าน
-
สระแก้ว
-
ตราด
-
กำแพงเพชร
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
พะเยา
-
เชียงใหม่
-
จันทบุรี
-
พิษณุโลก
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
พะเยา, ระนอง, อุตรดิตถ์, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
-
ยะลา,ปัตตานี
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
แม่น้ำสงครามตอนล่าง
-
All provinces.
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
อำเภอเวียงสา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกคลองแก้ว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
พรุลานควาย
ระบบนิเวศ :
-
พบอาศัยในป่าหลากหลาย และพื้นที่เกษตรกรรม
-
Inhabits from agricultural areas to hill forest.
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
สวนยาง ทุ่งหญ้า ชายป่า
การกระจายพันธุ์ :
-
พบทุกจังหวัด
-
Endemic
-
พบทุกจังหวัด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
-
เป็นอาหาร โดยการนำไปต้มกับใบมะขามอ่อน รวมทั้งใส่ใบผักอีตู่ไทเพื่อดับกลิ่นคาว นิยมกินในช่วงฤดูหนาวถึงฤดูแล้ง
สถานภาพการคุกคาม
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians, 2005
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 9 Amphibians and Raptiles in Thailand, 2543
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Slough | |||
Slough | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |