ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็ก (16 ชม ) ลำตัวป้อม หัวโต คอและขาสั้น ปากใหญ่และมีขนแข็ง จำนวนมากที่โคนปาก หน้าผากมีสีเหลือง อกมีแถบสีแดงขนาดใหญ่ ด้านบนลำตัว มีสีเขียวคล้ำ ด้านล่างลำตัวมีสีเหลืองจางๆ และมีขีดใหญ่สีคล้ำปะอยู่ทั่วไป
-
หน้าผากสีแดง ใบหน้าสีดำ มีแถบเหลืองด้านบนและด้านล่างของตา คอมีสีเหลือง คอด้านล่างมีแถบแดง อกตอนบนสีเหลืองอกตอนล่างและท้องสีขาวแกมเหลืองมีลายขีดสีเขียว ลำตัวมีสีเขียว
ระบบนิเวศ :
-
พบตามป่าโปร่ง และสวนผลไม้ อาหารส่วนใหญ่ได้แก่ผลไม้ต่างๆ เช่น ไทร หว้า ตะขบ มะเม่า และผลไม้เถาบางชนิดโดยการจิกกินตามกึ่งก้าน นอกจากนี้ก็ยังกินแมลงต่างๆ ด้วย
-
ป่าเต็งรัง ป่าโปร่ง ชุมชน
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
-
เชียงใหม่,ลำพูน,ตาก
-
เลย
-
นนทบุรี
-
มุกดาหาร
-
พะเยา
-
น่าน
-
น่าน
-
อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
-
น่าน
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
กระบี่, ชุมพร, พะเยา, สุราษฎร์ธานี, ระนอง, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
การขยายพันธุ์ :
-
การผสมพันธุ์ ทำรังอยู่ตามโพรงไม้ โดยใช้ป่ากเจาะเข้าไป ไข่สีขาว ในแต่ละรังมีไข่
2-4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 13-14 วัน
2-4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 13-14 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่แตง แม่น้ำแม่แจ่ม แม่น้ำปิง
-
ป่าภูหลวง
-
พื้นที่เกษตรกรรม
-
ภูผาเทิบ
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
บ้านดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
-
อำเภอเวียงสา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
สถานภาพการคุกคาม
ที่มาของข้อมูล
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 18 Birds of Dry and Semi-Humid Ecosystem, 2550
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน (Inland Water Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |