ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็กถึงกลาง (33 ซม.) ปาก แข้งและนิ้วสีเขียว บริเวณหน้าผาก คอ อก
และท้องสีขาว ซึ่งตัดกับส่วนของกระหม่อมคอด้านบน และลำตัวด้านบนซึ่งมีสีเทา-ดำ
และขนคลุมโคนขนหางด้านล่างที่มีสีน้ำตาลแดง
- ปากมีสีเหลือง โคนสันปากบนแดง หน้า คอตอนหน้า อกและท้องสีขาว กระหม่อมถึงหลังสีดำกมเทา ท้องตอนล่างถึงกันสีน้ำตาลแดง แข้งและตีนสีเหลือง นกไม่เต็มวัยลำตัวด้านบนเทาดำแกมน้ำตาล ลำตัวด้านล่างขาวหม่น
- ขนาด 28-36 เซนติเมตร ปากตรงสีเขียวเหลือง โคนปากบน
สีแดง ตาสีแดง หน้าผาก หน้า คอ อกและท้องสีขาว ลำตัวด้านบน กระหม่อมท้ายทอยสีดำ ขนคลุมไหล่ หลัง และปีกสีน้ำตาลเข้มเกือบดำ ลำตัวด้านล่าง ก้นสีน้ำตาลแดง แข้งและตีนสีเหลือง นิ้วตีนยาว นกวัยอ่อน ลำตัวด้านบนสีน้ำตาลเทา ลำตัวด้านล่างสีขาวไม่สดใส เสียงร้อง “กวั๊ก-กวั๊ก” แหลมดัง หรือ “กว๊าก-กว๊าก-กว๊าก” รัวยาว มักส่งเสียงร้องโต้ตอบกัน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ปากเหลือง โคนสันปากบนแดง หน้า คอตอนหน้า อก และท้องขาว กระหม่อมถึงหลังดำแกมเทา ท้องตอนล่างถึงก้นน้ำตาลแดง แข้งและตีนเหลือง นกวัยอ่อน : ลำตัวด้านบนเทาดำแกมน้ำตาล ลำตัวด้านล่างขาวหม่น
ระบบนิเวศ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหลายรูปแบบในที่ราบ
- อาศัยและหากินตามแหล่งน้ำต่างๆ ทั้งในน้ำจืดและน้ำเค็ม เวลาเดินหางมักจะกระดกขึ้นลงตามจังหวะการเดินคล้ายกับพวกนกอัญชันต่างๆ กินทั้งพืชและสัตว์เป็นอาหาร เช่น ข้าว จอก แหน สาหร่าย ลูกปลา กุ้ง ปู หอย เขียด ตั๊กแตน และ แมลงปอ
- พื้นที่ชุ่มน้ำหลายรูปแบบในที่ราบ
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกาะ
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
- พื้นที่ชุ่มน้ำ
- ระบบนิเวศแมน้ำ หนองน้ำ พื้นที่ชุมน้ำ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่
- พังงา
- นนทบุรี
- อุบลราชธานี
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- น่าน
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- กระบี่, พะเยา, สุราษฎร์ธานี, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม ทำรังอยู่ตามป่าหญ้า และกอพืชน้ำ เป็นรังแบบง่ายๆ ด้วยการนำใบหญ้า กอหญ้า มาวางซ้อนทับกัน ทำตรงกลางให้เป็นแอ่ง ไข่สีขาวจนถึงน้ำตาลอ่อน มีจุดสีม่วงเทา แต่ละรังมีไข่ 3-5 ฟอง
ระยะเวลาในการฟักไข่ 22-25 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำปิงตอนบน แม่น้ำแม่แตง
- อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
- พื้นที่เกษตรกรรม
- ผาแต้ม
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เชียงราย
การกระจายพันธุ์ :
- นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร, เลี้ยงไว้ดูเล่น
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ