ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- รูปร่างคล้ายไก่แจ้ เพศผู้มีหงอนขนาดใหญ่สีแดงขนบริเวณคอและขนคลุมตะโพกมีสีแดง-เหลืองทอง หลังตอนบนสีแดงเลือดหมู หางแบบกะลวยยาวสีเขียวเหลือบเป็นมัน เพศเมียมีขนาดเล็กกว่าเพศผู้ หางสั้น ลำตัวมีขนสีน้ำตาล หนังหน้าสีชมพูแกมแดง ชนิดย่อย gallus หนังบริเวณหูสีขาว ชนิดย่อย jabouillei สีแดง
ระบบนิเวศ :
- ทุ่งหญ้า ป่าโปร่งและป่าไผ่ ได้ยินเสียงร้องได้บ้างในบางพื้นที่ คาดว่ากำลังถูกคุกคามจากการล่า
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
- สวนยาง ชายป่า ป่ายางแดง นาข้าว
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- เลย
- พะเยา
- น่าน
- น่าน
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- น่าน
- กระบี่
- พะเยา, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, นครสวรรค์, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าภูหลวง
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- บ้านดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
- อำเภอเวียงสา และพื้นที่ใกล้เคียง
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่งาวฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
การกระจายพันธุ์ :
- นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร, เลี้ยงไว้ดูเล่น
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ