ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
-
นกขนาดเล็ก ( 19 ซม. ) ตัวเต็มวัยแตกต่างจากนกเด้าลมเหลือง โดยเฉพาะด้านบนลำตัวมีสีเทา มีลายแถบแคบๆ สีขาวที่ปีกขนคลุมโคนขนหางด้านบนสีออกเหลือง คอหอยสีขาว หางยาวกว่า
-
บริเวณคิ้วสีขาวยาว แคบๆ หัวและลำตัวด้านบนสีเทา ปีกดำมีลายจากขอบขนโคนปีกขาว คอและท้องขาว ท้องแกม
เหลืองและเข้มชื้นที่กัน ตะโพกเหลือง เห็นได้ชัดขณะบิน ทางเรียวยาวสีดำขอบหางคู่นอกมีสีขาว ขณะบินปีกมีแถบสีขาว นกเพศผู้ในฤดูผสมพันธุ์ คิ้วและแถบหนวดขาวชัดเจน คอและอกตอนบนดำ ลำตัวด้านล่างเหลืองสดขึ้น
เหลืองและเข้มชื้นที่กัน ตะโพกเหลือง เห็นได้ชัดขณะบิน ทางเรียวยาวสีดำขอบหางคู่นอกมีสีขาว ขณะบินปีกมีแถบสีขาว นกเพศผู้ในฤดูผสมพันธุ์ คิ้วและแถบหนวดขาวชัดเจน คอและอกตอนบนดำ ลำตัวด้านล่างเหลืองสดขึ้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
คิ้วยาวแคบ ๆ สีขาว หัวและลำตัวด้านบนเทา ปีกดำมีลายจากขอบขนโคนปีก คอขาว ท้องแกมเหลืองและเข้มขึ้นที่ก้น ตะโพกเหลืองเห็นได้ชัดขณะบิน หางเรียวยาวสีดำขอบหางคู่นอกขาว ขณะบินเห็นมีแถบขาวที่ปีก ตัวผู้ขนชุดผสมพันธุ์ : คิ้วและแถบหนวดขาวชัดเจน คอและอกตอนบนดำ ลำตัวด้านล่างเหลืองสดขึ้น
ระบบนิเวศ :
-
พื้นที่เปิดโล่งในป่าโปร่ง ชายป่า มักพบริมถนนหรือใกล้แหล่งน้ำในป่า ที่ราบถึงความสูง 2,565 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
-
พบตามชายป่าต่างๆ ทุ่งโล่ง ทุ่งหญ้า แหล่งกสิกรรม และโดยเฉพาะบริเวณที่ใกล้แหล่งน้ำ หากินตามพื้นดิน ด้วยการเดินหรือวิ่งไล่จับแมลง ซึ่งเป็นอาหารส่วนใหญ่บางครั้งก็โฉบกลางอากาศใกล้ๆ กับพื้นดิน หรือก้อนหิน ซึ่งเป็นที่จับเกาะ และขณะที่เกาะตามปรกติทางจะกระดกขึ้นลงเสมอๆ เป็นจังหวะ
-
พื้นที่เปิดโล่งในป่าโปร่ง ชายป่า มักพบใกล้น้ำ
-
ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศเกาะ
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
-
เชียงใหม่
-
เลย
-
พังงา
-
อุบลราชธานี
-
อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
-
กระบี่
-
พะเยา, ระนอง, แพร่, ลำปาง, นครสวรรค์, เชียงราย
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ป่าภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
-
ผาแต้ม
-
ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 18 Birds of Dry and Semi-Humid Ecosystem, 2550
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน (Inland Water Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
IUCN Red List
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |