ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็กมาก (15 ชม) ด้านบนลำตัวเป็นสีน้ำเงินเข้ม อกมีลายพาดสีเดียวกับลำตัว คอหอยและหน้าผากสีน้ำตาลเหลือง หางเว้าลึก ด้านล่างลำตัวรวมทั้งปีกสีขาว-น้ำตาลเหลือง
- ขนลำตัวด้านบนสีดำเหลือบน้ำเงินเป็นมัน หน้าผากและคอสีน้ำตาลแดงเข้มมีแถบดำเหลือบน้ำเงินพาดอก ลำตัวด้านล่างและขนคลุมใต้ปีกสีขาว หางแฉกลึก ขนหางคู่นอกยาวที่สุด และจะยาวมากขึ้นในช่วงฤดูผสมพันธุ์ ขนหางแต่ละเส้นยกเว้นคู่ในสุดมีจุดสีขาว ชนิดย่อย tytleri ลำตัวด้านล่างและขนคลุมใต้ปีกแกมสีน้ำตาลแดงอ่อน นกไม่เต็มวัย ขนลำตัวด้านบนดำแกมน้ำตาล แถบคาดอกดำ หน้า
ผากและคอน้ำตาล
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ขนลำตัวด้านบนดำเหลือบน้ำเงินเป็นมัน หน้าผากและคอน้ำตาลแดงเข้มมีแถบดำเหลือบนำเงินพาดอก ลำตัวด้านล่างและขนคลุมใต้ปีกขาว หางแฉกลึก ขนหาคู่นอกยาวที่สุดและจะยาวมากขึ้นในช่วงฤดูผสมพันธุ์ ขนหางแต่ละเส้นยกเว้นคู่ในสุดมีจุดสีขาว ชนิดย่อย tytleri ลำตัวด้านล่างและขนคลุมใต้ปีกแกมสีน้ำตาลแดง นกวัยอ่อน : ขนลำตัวด้านบนดำแกมน้ำตาล แถบคาดอกดำ หน้าผากและคอน้ำตาล
ระบบนิเวศ :
- พื้นที่เปิดโล่ง ตั้งแต่ที่ราบถึงความสูง 2,565 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- พบตามทุ่งโล่ง แหล่งน้ำทั่วไป และในเมือง อาจจะพบเป็นฝูงใหญ่มาก ในช่วงเช้าและเย็น จะเห็นนกนางแอ่นบ้านบินฉวัดเฉวียนอยู่กลางอากาศ เพื่อโฉบจับแมลงต่างๆ เป็นอาหารและอาจพบเกาะตามสายไฟฟ้า กิ่งไม้ ตอไม้ ระเบียง หรือขายคาบ้านเรือน และสิ่งก่อสร้างต่างๆ เพื่อพักผ่อน ไซ้ขน
- พื้นที่เปิดโล่ง เกาะนอนรวมกันเป็นฝูงใหญ่
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
- สวนยาง ทุ่งหญ้า ชายป่า ป่ายางแดง นาข้าว
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่,กำแพงเพชร
- เลย
- เชียงใหม่
- อุบลราชธานี
- พะเยา
- น่าน
- น่าน
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- ชุมพร, สุราษฎร์ธานี, ลำพูน, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำปิงตอนบน แม่น้ำแม่ริม แม่น้ำปิง คลองแม่ระกา คลองสวนหมาก แม่น้ำปิงตอนล่าง
- ป่าภูหลวง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- ผาแต้ม
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- บ้านดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน ทำรังด้วยดินเหนียว อาจผสมด้วยหญ้า และขนนก ตามเพดานบ้าน หรือสิ่งก่อสร้างต่างๆ ไข่สีขาว มีลายจุดหรือขีดสีน้ำตาลแกมม่วง ในแต่ละรังมีไข่ 4-6 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 14-16 วัน
การกระจายพันธุ์ :
- นกอพยพ
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ