ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
-
นกขนาดเล็กมาก (11 ซม.) ปากสีดำเป็นปากกรวย คอสั้น ตัวเต็มวัยสีน้ำตาลมีลายขีดเล็กๆ สีขาว ตะโพกสีขาว ท้องสีขาวมีลายขีดสีเข้มไม่เด่นขัด อกสีเข้มมีลายเกล็ดสีเนื้อ หางสีดำ ปลายห่างแหลม ขนหางคู่กลางยื่นยาวกว่าขนทางคู่อื่นๆ
-
ปากสี่เทา บริเวณตะโพกและท้องมีสีขาว ตัดกับหัว อกและลำตัวด้านบนสีน้ำตาลเข้ม หน้าและปีกสีน้ำตาลดำ มีลาย
ขีดสีอ่อนที่หลังและอก ปลายขนหางเป็นติ่งแหลมกว่าชนิดอื่น
ขีดสีอ่อนที่หลังและอก ปลายขนหางเป็นติ่งแหลมกว่าชนิดอื่น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ปากเทา ตะโพกและท้องขาว ตัดกับหัว อก และลำตัวด้านบนน้ำตาลเข้ม หน้าและปีกน้ำตาลดำ มีลายขีดสีอ่อนทั้งที่หลังและอก ปลายขนหางยื่นเป็นติ่งแหลมชัดเจนกว่าชนิดอื่น
ระบบนิเวศ :
-
ทุ่งหญ้า พื้ยที่เกษตรกรรม ป่าละเมาะ ชายป่า ที่ราบถึงความสูง 1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
-
พบตามป่ารุ่น ป่าละเมาะ ทุ่งหญ้า ทุ่งโล่ง และแหล่งกสิกรรมต่างๆ พบเป็นคู่ หรือเป็นฝูงใหญ่ เวลาบินออกหากินมักพบบินเกาะกลุ่มกัน ลักษณะคล้ายฝูงผึ้ง อาหารได้แก่ เมล็ดข้าวเปลือก ธัญพืช เมล็ดหญ้า แมลง และตัวหนอนต่างๆ
-
ทุ่งหญ้า พื้นที่เกษตรกรรม ป่าละเมาะ ชายป่า
-
ทุ่งหญ้า/ทุ่งนา/หญ้าสูง/ไม้พุ่มริมน้ำ นกประจำถิ่น
-
ระบบนิเวศป่าไม้, พื้นที่การทำเกษตร
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
สวนยาง ทุ่งหญ้า ชายป่า ป่ายางแดง นาข้าว
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
เชียงใหม่
-
เลย
-
อุบลราชธานี
-
น่าน
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
กำแพงเพชร
-
อุตรดิตถ์
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
เชียงใหม่
-
จันทบุรี
-
พิษณุโลก
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
-
กระบี่, พะเยา, ระนอง, อุตรดิตถ์, กาญจนบุรี, นครสวรรค์, เชียงราย
-
กระบี่
-
ยะลา,ปัตตานี
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน-สิงหาคม รังเป็นรูปทรงกลม ทำจากใบหญ้า ใบไม้ ดอกหญ้า ขนนก โดยนำมาสุมกองกันตามง่ามไม้ แต่ละรังมีไข่ 5-6 ฟอง ไข่สีขาว ระยะเวลาฟักไข่ 10-11 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ป่าภูหลวง
-
ผาแต้ม
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าวังใหญ่ และป่าแม่น้ำน้อย กาญจนบุรี, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่
-
พรุลานควาย
การกระจายพันธุ์ :
-
นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 18 Birds of Dry and Semi-Humid Ecosystem, 2550
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
-
กรมป่าไม้
-
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
IUCN Red List
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |