ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- ปากยาว โค้ง หางตัดขอบหางคู่นอกแผ่กว้างและงอนขึ้นด้านบน หน้าผากมีขนยาวเป็นเส้นคล้ายผม ขนลำตัวสีดำเป็นมันปีกและหางสีเหลือบเขียว
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ปากยาวโค้งกว่านกแซงแซวชนิดอื่น หางตัด ขอบหางคู่นอกแผ่กว้างและงอนขึ้นด้านบน หน้าผากมีขนยาวคล้ายเส้นผม ขนลำตัวดำเป็นมัน ปีกและหางเหลือบเขียว
ระบบนิเวศ :
- ป่าดิบ ป่าโปร่ง ช่วงอพยพบางครั้งพบในสวนผลไม้ สวนสาธารณะ ที่ราบถึงความสูง 2,000 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง มีกพบบนต้นไม้ที่กำลังมีดอกเพื่อกินน้ำหวาน
- ป่าดิบ ป่าโปร่ง ช่วงอพยพบางครั้งพบในสวนสาธารณะ มักพบบนต้นไม้ที่กำลังมีดอก
- ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- เชียงใหม่
- เลย
- มุกดาหาร
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- กำแพงเพชร
- อุตรดิตถ์
- พะเยา
- เชียงใหม่
- จันทบุรี
- พิษณุโลก
- กรุงเทพมหานคร
- พะเยา, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, นครสวรรค์, เชียงราย
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- ป่าภูหลวง
- ภูผาเทิบ
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ