ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
In winter widespread over most of country, small number breeder.
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงโขงหลง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ป่า 2484 สุรินทร์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
พรุลานควาย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
เชียงราย
ระบบนิเวศ :
-
various marshy areas.
-
พบและหากินตามแหล่งน้ำทั่วไป อาหารได้แก่ สัตวน้ำต่างๆ รวมทั้งพวกสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็กด้วย เป็นนกที่มีความอดทนในการยืนจ้องคอยให้เหยื่อเข้ามาใกล้ๆ แล้วใช้ปากจับเหยื่อ
-
ทุ่งหญ้า นาข้าว แอ่งน้ำขังในพรุ
-
ระบบนิเวศแมน้ำ หนองน้ำ พื้นที่ชุมน้ำ
การกระจายพันธุ์ :
-
Indo-Pacific
-
นกประจำถิ่น
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดใหญ่มาก (97 ซม.) ปากเรียวและปลายปากแหลม คอยาวมาก ปลายปีกมน ขายาว ปากยาวเหมือนนกยางทั่วไป แต่หัวใหญ่กว่า ขนคลุมลำตัวเป็นสีน้ำตาลเข้ม ลำตัวมีแถบเหลืองลายดำเห็นได้ชัดเจน
-
ขนาด 78-90 เซนติเมตร ปากตรงแหลมสีเทา หน้าผาก หัวสีดำ
ท้ายทอยมีขนสีดำยาวออกมาคล้ายเปีย คางสีขาว ด้านข้างลำคอมีลายขีดเป็นเส้นสีดำตลอดลำคอ หลังคอสีน้ำตาลแดง ลำตัวด้านบน บริเวณหลังและหางสีเทา ลำตัวด้านล่าง สีน้ำตาลแดง ขาสีเหลืองอ่อน นกวัยอ่อน หน้าผาก หัว สีดำ ลายขีดที่ด้านข้างลำคอไม่ชัดเจน ขนปกคลุมลำตัวด้านบนและด้านล่างสีน้ำตาลแดง แข้งและตีนสีน้ำตาล เสียงร้อง “ร้าก” หรือ “ร้าก-ก”
ท้ายทอยมีขนสีดำยาวออกมาคล้ายเปีย คางสีขาว ด้านข้างลำคอมีลายขีดเป็นเส้นสีดำตลอดลำคอ หลังคอสีน้ำตาลแดง ลำตัวด้านบน บริเวณหลังและหางสีเทา ลำตัวด้านล่าง สีน้ำตาลแดง ขาสีเหลืองอ่อน นกวัยอ่อน หน้าผาก หัว สีดำ ลายขีดที่ด้านข้างลำคอไม่ชัดเจน ขนปกคลุมลำตัวด้านบนและด้านล่างสีน้ำตาลแดง แข้งและตีนสีน้ำตาล เสียงร้อง “ร้าก” หรือ “ร้าก-ก”
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
กระบี่
-
ฉะเชิงเทรา
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
-
สุรินทร์, เชียงราย
-
ยะลา,ปัตตานี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน สร้างรังตามยอดไม้สูงๆ โดยใช้กิ่งไม้สานกันอย่างหยาบๆ ข่สีเขียวอ่อน ในแต่ละรั่งมีไข่ 3-4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 27-29 วัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
ONEP Biodiversity Series Vol. 15 : Thailand Red Data : Birds
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
-
กรมป่าไม้
-
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
คู่มือจำแนกชนิดพันธุ์นกน้ำ ในระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำแม่น้ำอิงตอนล่าง, 2566, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
IUCN Red List
-
IUCN Red List
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)