ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครพนม
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
กรุงเทพมหานคร
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
-
ลำพูน, เชียงราย
-
ยะลา,ปัตตานี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
แม่น้ำสงครามตอนล่าง
-
ลาดกระบัง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
พรุลานควาย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
เชียงราย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็กถึงกลาง (40-43 ซม.) สีของลำตัวทั่วๆ ไปเป็นสีน้ำตาลแดง บริเวณหัว ช่วงไหล่ และปีกจะเป็นสีน้ำตาลแดงเข้มกว่าบริเวณอื่นๆ ขนปลายปีกสีดำ เวลาบินจะเห็นสีตัดกับสีของลำตัวชัดเจน
-
ขนาด 40-43 เซนติเมตร ปากแบนสีเทาเข้ม หนังรอบดวงตา
สีน้ำตาลอ่อน กระหม่อมสีน้ำตาลเข้ม หน้า ท้ายทอย คอ และอกสีน้ำตาล ลำตัวด้านบน ขนคลุมไหล่สีน้ำตาลแดง ปีกสีเทาเข้มเกือบดำ ตะโพกสีน้ำตาลแดง ปลายหางสีเทาเข้ม ลำตัวด้านล่าง สีน้ำตาล ข้างลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ขณะบินหัวและคอจะอยู่ต่ำกว่าลำตัวเล็กน้อย ขนใต้ปีกสีเทาเข้มเกือบดำ เสียงร้อง แหลมสูง ดัง “วี้ด-วี้ด”
สีน้ำตาลอ่อน กระหม่อมสีน้ำตาลเข้ม หน้า ท้ายทอย คอ และอกสีน้ำตาล ลำตัวด้านบน ขนคลุมไหล่สีน้ำตาลแดง ปีกสีเทาเข้มเกือบดำ ตะโพกสีน้ำตาลแดง ปลายหางสีเทาเข้ม ลำตัวด้านล่าง สีน้ำตาล ข้างลำตัวสีน้ำตาลเข้ม ขณะบินหัวและคอจะอยู่ต่ำกว่าลำตัวเล็กน้อย ขนใต้ปีกสีเทาเข้มเกือบดำ เสียงร้อง แหลมสูง ดัง “วี้ด-วี้ด”
ระบบนิเวศ :
-
อาศัยตามแหล่งน้ำขนาดใหญ่ หากินตอนกลางคืน อาหารส่วนใหญ่ได้แก่ เมล็ดข้าวเปลือกในนาข้าว ในตอนกลางวันมักว่ายน้ำพักผ่อนตามแหล่งน้ำ อาจจะหาอาหารไปด้วย โดยกินดอกและผลของดีปลีน้ำ รวมทั้งดำน้ำจับสัตว์เล็กๆ ด้วย
-
พื้นที่ชุ่มน้ำ
-
ระบบนิเวศแมน้ำ หนองน้ำ พื้นที่ชุมน้ำ
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม สร้างรังทั้งตามโพรงไม้และตามกอหญ้าใกล้ๆ กับแหล่งน้ำ โดยเป็นรังแบบง่ายๆ ใช้ขนนกและใบหญ้าวางซ้อนทับกัน วางไข่ครั้งละ 8-13 ฟอง ไข่สีขาว ใช้เวลาฟักไข่ 22-24 วัน
การกระจายพันธุ์ :
-
นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
-
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน), Final Report Biodiversity and Ornithology Monitoring Report B.Grimm Power 5 MW Solar PV Project, Lat Krabang, Bangkok
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
-
กรมป่าไม้
-
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
คู่มือจำแนกชนิดพันธุ์นกน้ำ ในระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำแม่น้ำอิงตอนล่าง, 2566, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
IUCN Red List
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |