ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็ก (28 ซม.) ลำตัวป้อม หัวใหญ่คอและหางสั้น ปากแบนข้างสีแดงสด หัว หลัง และท้องมีสีน้ำตาลแดงเข้มตัดกับคอและอกที่เป็นสีขาว ปีก หาง และขนคลุมลำตัวเป็นสีฟ้าอมเขียวสดใส
- ขนาด 27-29 เซนติเมตร ปากแหลมสีแดงสด หัว หน้าและท้ายทอยสีน้ำตาลเข้ม ลำตัวด้านบน ขนคลุมไหล่ด้านบนสีน้ำตาล ขนคลุมปีกสีฟ้าเข้ม หลังตะโพกและหางสีฟ้าเข้ม ลำตัวด้านล่าง คาง คอ และอกสีขาว ท้องสีน้ำตาลเข้ม แข้งและตีนสีแดง ขณะบินมองเห็นแถบสีขาวที่ปลายปีก เสียงร้อง แหลมสั้น “ครี้-ครี้-ครี้”
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- หัว หลังตอนบน ไหล่ และท้องสีน้ำตาลเข้ม คอและอกขาว ปากแดงสด ปีก หลัง และหางฟ้าเข้ม หลังตอนล่างและตะโพกฟ้าวาว แข้งและตีนแดง ขณะบินมีแถบขาวใหญ่ที่ปีก
ระบบนิเวศ :
- ทุ่งนา แหล่งน้ำในที่โล่งถึงระดับความสูง 1,500 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง สามารถพบในพื้นที่แห้งแล้งกว่าชนิดอื่น
- พบตามแหล่งน้ำทั่วไป กินสัตว์น้ำต่างๆ โดยการเกาะตามกิ่งไม้ ตอไม้ หรือสายไฟ แล้วบินโฉบจับด้วยปาก อาจจะกินแมลงและสัตว์ขนาดเล็กต่างๆ ด้วย
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
- ทุ่งหญ้า นาข้าว ชายป่า
- ระบบนิเวศพื้นที่ปาชุมน้ำและปาใกลชุมชน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่,ตาก,กำแพงเพชร
- เลย
- เชียงใหม่
- พะเยา
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- น่าน
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- กระบี่, ชุมพร, พะเยา, สุราษฎร์ธานี, ระนอง, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่งัด แม่น้ำแม่แตง แม่น้ำปิง คลองแม่ระกา
- ป่าภูหลวง
- พื้นที่เกษตรดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เชียงราย
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ทำรังตามฝั่งแม่น้ำ ลำคลอง หรือเนินดิน โดยใช้ปากและเล็บขุดดินให้เป็นโพรง ไข่สีขาว ในแต่ละรังมีไข่ 4-6 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 16-17 วัน
การกระจายพันธุ์ :
- นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ