ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
-
นกขนาดเล็กจนถึงขนาดเล็ก-กลาง (30-36 ซม.) ตัวผู้ด้านบนลำตัวสีเทา แก้มสีเทา คอหอยสีออกขาวมีลายขีดเล็กและละเอียดโดยรอบ อกและท้องมีลายพาดแคบๆ สลับกันระหว่างสีน้ำตาลแดงและสีขาว หางและขนปีกด้านล่างมีลายแถบสีเข้ม 4 แถบ ตัวเมียลักษณะคล้ายตัวผู้ แต่มีขนาดใหญ่กว่า ด้านบนลำตัวสีเทาแกมน้ำตาล คอหอย สีออกเทา มีลายแถบเฉพาะที่ปลายหาง
-
นกเพศผู้ ตาสีแดง หัวและลำตัวด้านบนสีเทาแกมฟ้า ลำตัวด้านล่างสีขาว คอขาวมีเส้นกลางคอสีข้ม อกและท้องมีลายถี่
สีส้มแกมน้ำตาลแดง หางเทามีลายขวางสีเข้มไม่ชัดเจน ขณะบินปีกตอนในค่อนข้างกว้าง ขนคลุมใต้ปีกมีลายสีส้มแกมน้ำตาล ขนปีกบินขาวมีลายยาวสีคล้ำ ปลายปีกดำ นกเพศเมีย ขนาดใหญ่กว่า ตาสีเหลือง ลำตัวด้านบนมีสีแกมน้ำตาลมากกว่าตัวผู้ ลายขวางที่อกหนาสีแกมน้ำตาล
นกวัยอ่อน หัวและลำตัวน้ำตาลเข้มมีลายจากขอบขนขาว เส้นกลางคอชัดเจน อกมีลายขีดรูปหยดน้ำยาวสีน้ำตาลเข้ม สีข้างเป็นลายขวาง หางน้ำตาลมีแถบสีเข้ม 5 แถบ
สีส้มแกมน้ำตาลแดง หางเทามีลายขวางสีเข้มไม่ชัดเจน ขณะบินปีกตอนในค่อนข้างกว้าง ขนคลุมใต้ปีกมีลายสีส้มแกมน้ำตาล ขนปีกบินขาวมีลายยาวสีคล้ำ ปลายปีกดำ นกเพศเมีย ขนาดใหญ่กว่า ตาสีเหลือง ลำตัวด้านบนมีสีแกมน้ำตาลมากกว่าตัวผู้ ลายขวางที่อกหนาสีแกมน้ำตาล
นกวัยอ่อน หัวและลำตัวน้ำตาลเข้มมีลายจากขอบขนขาว เส้นกลางคอชัดเจน อกมีลายขีดรูปหยดน้ำยาวสีน้ำตาลเข้ม สีข้างเป็นลายขวาง หางน้ำตาลมีแถบสีเข้ม 5 แถบ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ตัวผู้ : ตาแดง หัวและลำตัวด้านบนแกมเทาฟ้าคอขาวมีเส้นกลางคอสีเข้มลำตัวด้านล่างขาว อกและท้องมีลายขวางถี่สีส้มแกมน้ำตาลแดง หางเทามีลายขวางสีเข้มแต่ไม่ชัดเจน ยกเว้นขนหางคู่กลางไม่มีแถบ ขณะบินปีกตอนในค่อนข้างกว้างขนคลุมต้ายปีกมีลายเส้นแกมน้ำตาล ขนปีกบินขาวมีลายยาวสีคล้ำ ปลายปีกดำ ตัวเมีย : ขนาดใหญ่กว่า ตาเหลือง ลำตัวด้านบนแกมน้ำตาลมากกว่าตัวผู้ ลายขวางที่อกหนาแกมน้ำตาล ขนหางคู่กลางเป็นลายจาง ๆ นกวัยอ่อน : หัวและลำตัวน้ำตาลเข้มมีลายจากขอบขนขาว หางน้ำตาลมีแถบสีเข้ม 5 แถบ
ระบบนิเวศ :
-
ป่าโปร่ง บางครั้งพบตามสวนผลไม้และสวนสาธารณะที่ราบถึงความสูง 1,650 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
-
พบตามป่าต่างๆ รวมทั้งทุ่งโล่ง มักพบเกาะตามกิ่งก้านของต้นไม้ที่มีใบแน่นทึบ อาหาร ได้แก่ สัตว์ต่างๆ โดยเฉพาะนกขนาดเล็ก และสัตว์เลื้อยคลานจำพวกแย้และกิ้งก่า
-
ป่าโปร่ง บางครั้งพบตามสวนผลไม้ สวนสาธารณะ
-
ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศเกาะ
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
เชียงใหม่
-
เลย
-
สุราษฏร์ธานี
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา
-
น่าน
-
น่าน
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
-
ชุมพร, พะเยา, ระนอง, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน ทำรังตามต้นไม้สูงๆ ด้วยการ ใช้กิ่งไม้ต่างๆ มาวางซ้อนทับกัน ไข่สีเทาแกมน้ำเงิน ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ใช้เวลาฟักไข่ 18-21 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ป่าภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง
-
ผาแต้ม
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
บ้านดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 18 Birds of Dry and Semi-Humid Ecosystem, 2550
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
-
กรมป่าไม้
-
IUCN Red List
-
IUCN Red List
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)
ข้อมูลสภานภาพ CITES
CITES โลก
- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2013-06-12)
CITES ไทย
- บัญชีหมายเลข II
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |