ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นกที่มีขนาดกลาง (46-47 ซม.) สีของลำตัวทั่วๆ ไปเป็นสีน้ำตาลแดง ซึ่งจะตัดกับ
สีของหัว คอ และอกซึ่งมีสีขาวชัดเจนบริเวณส่วนที่เป็นสีขาวดังกล่าว จะมีลาย
ขีตสีน้ำตาลแกมดำกระจายทั่วๆ ไป ขณะที่บินจะเห็นหางแผ่กว้าง ปลายหางค่อนข้าง
มนชัดเจน
ระบบนิเวศ :
- พบหาดินตามทุ่งโล่งที่ใกล้แหล่งน้ำ โดยเฉพาะตามแม่น้ำ ลำคลองขนาดใหญ่ และพบบ่อยมากบริเวณปากแม่น้ำต่างๆ ชายทะเล ท่าเรือ และตามป่าชายเลน กินปลาต่างๆ เป็นอาหารเป็นส่วนใหญ่ นอกจากนี้ยังกินสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็กอื่นๆ อีกด้วย
- ระบบนิเวศเกาะ
- พื้นที่เปิดโล่งใกล้น้ำ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- พังงา
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- ฉะเชิงเทรา
- กรุงเทพมหานคร
- กระบี่, ชุมพร, ระนอง
- ยะลา,ปัตตานี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
- พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมกราคม-เมษายน โดยทำรังตามกิ่งก้านของต้นไม้ที่อยู่ใกล้ๆ กับแหล่งน้ำต่างๆ ไข่สีขาว ในแต่ละรังมีไข่ 2-4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 99-31 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การกระจายพันธุ์ :
- นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
ข้อมูลสภานภาพ CITES

CITES โลก

- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2013-06-12)

CITES ไทย

- บัญชีหมายเลข II

พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ