ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงถึง 10 เมตร.รากแก้วยาวลงไปในแนวดิ่ง กิ่งและแกนกลางใบมีขนลักษณะต่อม ใบ ประกอบแบบขนนก ยาวได้ถึง 1 ม. รูปใบหอก ถึง รูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ กว้าง 1.5-6.0 ซม. ยาว 5-20 ซม. ดอก ออกเป็นช่อแบบแยกแขนง กลีบดอกสีแดง มี 5 หรือ 6 กลีบ กว้าง 2-3 มม. ยาว 4.0-5.5 มม.มีขนประปราย ผล รูปรี กว้าง 5-12 มม. ยาว 10-17 มม. สีม่วงเข้มเมื่อสุก
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงถึง 10 เมตร.รากแก้วยาวลงไปในแนวดิ่ง กิ่งและแกนกลางใบมีขนลักษณะต่อม ใบ ประกอบแบบขนนก ยาวได้ถึง 1 ม. รูปใบหอก ถึง รูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ กว้าง 1.5-6.0 ซม. ยาว 5-20 ซม. ดอก ออกเป็นช่อแบบแยกแขนง กลีบดอกสีแดง มี 5 หรือ 6 กลีบ กว้าง 2-3 มม. ยาว 4.0-5.5 มม.มีขนประปราย ผล รูปรี กว้าง 5-12 มม. ยาว 10-17 มม. สีม่วงเข้มเมื่อสุก
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงถึง 10 เมตร.รากแก้วยาวลงไปในแนวดิ่ง กิ่งและแกนกลางใบมีขนลักษณะต่อม ใบ ประกอบแบบขนนก ยาวได้ถึง 1 ม. รูปใบหอก ถึง รูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ กว้าง 1.5-6.0 ซม. ยาว 5-20 ซม. ดอก ออกเป็นช่อแบบแยกแขนง กลีบดอกสีแดง มี 5 หรือ 6 กลีบ กว้าง 2-3 มม. ยาว 4.0-5.5 มม.มีขนประปราย ผล รูปรี กว้าง 5-12 มม. ยาว 10-17 มม. สีม่วงเข้มเมื่อสุก
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูงถึง 10 เมตร.รากแก้วยาวลงไปในแนวดิ่ง กิ่งและแกนกลางใบมีขนลักษณะต่อม ใบ ประกอบแบบขนนก ยาวได้ถึง 1 ม. รูปใบหอก ถึง รูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ กว้าง 1.5-6.0 ซม. ยาว 5-20 ซม. ดอก ออกเป็นช่อแบบแยกแขนง กลีบดอกสีแดง มี 5 หรือ 6 กลีบ กว้าง 2-3 มม. ยาว 4.0-5.5 มม.มีขนประปราย ผล รูปรี กว้าง 5-12 มม. ยาว 10-17 มม. สีม่วงเข้มเมื่อสุก
การกระจายพันธุ์ :
-
ประเทศลาว กัมพูชา ตอนใต้ของพม่า คาบสมุทรอินโดจีนมาเลเซีย ประเทศไทย พบกระชายทั่วทุกภาค มักจะพบในป่าเต็งรัง
-
ประเทศลาว กัมพูชา ตอนใต้ของพม่า คาบสมุทรอินโดจีนมาเลเซีย ประเทศไทย พบกระชายทั่วทุกภาค มักจะพบในป่าเต็งรัง
-
ประเทศลาว กัมพูชา ตอนใต้ของพม่า คาบสมุทรอินโดจีนมาเลเซีย ประเทศไทย พบกระชายทั่วทุกภาค มักจะพบในป่าเต็งรัง
-
ประเทศลาว กัมพูชา ตอนใต้ของพม่า คาบสมุทรอินโดจีนมาเลเซีย ประเทศไทย พบกระชายทั่วทุกภาค มักจะพบในป่าเต็งรัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม-เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหมู่เกาะลิบง–ปากน้ำตรัง
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หนองทุ่งทอง
-
อุทยานแห่งชาติ เขานัน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกทรายขาว
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกทรายขาว
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
-
อุทยานแห่งชาติ บางลาง
-
อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
-
อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
มุกดาหาร
-
สุราษฎร์ธานี
-
นครศรีธรรมราช
-
พัทลุง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
ปัตตานี
-
ปัตตานี
-
นครศรีธรรมราช
-
ยะลา
-
สงขลา
-
สงขลา
-
ชลบุรี
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แพร่
-
สตูล, สงขลา
-
สตูล, สงขลา
-
อุบลราชธานี
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
ราชบุรี
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ชุมพร
-
ตาก
-
ตาก
-
ชุมพร
-
สุรินทร์
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มกึ่งไม้ต้นขนาดเล็ก
-
จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก ลำต้นตั้งตรง มีความสูงตั้งแต่ 1-10 เมตร เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาล แตกกิ่งก้านน้อย กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาล ก้านใบออกจากลำต้นตรงส่วนปลายของลำต้น เรียงกันหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง กิ่งก้านสั้นเป็นกระจุกที่ปลายยอดของลำต้น เป็นไม้ลงราก รากมีลักษณะกลมโตสีเขียวและยาว
-
จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก ลำต้นตั้งตรง มีความสูงตั้งแต่ 1-10 เมตร เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาล แตกกิ่งก้านน้อย กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาล ก้านใบออกจากลำต้นตรงส่วนปลายของลำต้น เรียงกันหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง กิ่งก้านสั้นเป็นกระจุกที่ปลายยอดของลำต้น เป็นไม้ลงราก รากมีลักษณะกลมโตสีเขียวและยาว
-
จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก ลำต้นตั้งตรง มีความสูงตั้งแต่ 1-10 เมตร เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาล แตกกิ่งก้านน้อย กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาล ก้านใบออกจากลำต้นตรงส่วนปลายของลำต้น เรียงกันหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง กิ่งก้านสั้นเป็นกระจุกที่ปลายยอดของลำต้น เป็นไม้ลงราก รากมีลักษณะกลมโตสีเขียวและยาว
-
จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก ลำต้นตั้งตรง มีความสูงตั้งแต่ 1-10 เมตร เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาล แตกกิ่งก้านน้อย กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาล ก้านใบออกจากลำต้นตรงส่วนปลายของลำต้น เรียงกันหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง กิ่งก้านสั้นเป็นกระจุกที่ปลายยอดของลำต้น เป็นไม้ลงราก รากมีลักษณะกลมโตสีเขียวและยาว
-
จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก ลำต้นตั้งตรง มีความสูงตั้งแต่ 1-10 เมตร เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาล แตกกิ่งก้านน้อย กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาล ก้านใบออกจากลำต้นตรงส่วนปลายของลำต้น เรียงกันหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง กิ่งก้านสั้นเป็นกระจุกที่ปลายยอดของลำต้น เป็นไม้ลงราก รากมีลักษณะกลมโตสีเขียวและยาว
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมป่าไม้
-
หนังสือ พรรณไม้มีคุณค่าจากป่าสาธารณะประโยชน์ บ้านทำนบ, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)