ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูง 16 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดกลมหรือรี เปลือกเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ดสีน้ำตาลปนเทา กิ่งมีขนยาวสีน้ำตาลแดงหนาแน่น ใบ ประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ปลายคู่ เรียงเวียนสลับ ใบย่อย 3-9 คู่ รูปไข่หรือรูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ ปลายใบป้านถึงเรียวแหลม โคนใบมนถึงรูปลิ่มกว้าง ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนามีขนนุ่มสีน้ำตาล ดอก สีขาวอมเหลือง มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามปลายกิ่ง ดอกแยกเพศร่วมต้น กลีบเลี้ยงรูปไข่กว้างเกือบกลม กลีบดอก 4-5 กลีบ รูปไข่กลับ มีก้านกลีบสั้นๆ ปลายก้านมีเกล็ดและมีสัน 2 สัน รูปคล้ายกระบอง ปลายมีขนยาว จานฐานดอกเป็นวง ผล แบบผลผนังชั้นใน แข็ง มีเนื้อ เมล็ดเดียว รูปกลมรี สีม่วงเข้มหรือดำ แยกเป็น 2 พู ผิวเกลี้ยง เมล็ดกลมรีสีน้ำตาลมัน
-
ไม้ต้น สูง 2-3 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปรี ถึงรูปไข่กลับ ผิวใบเกลี้ยง ปลายใบมน ดอก ขนาดเล็กสีเขียวอ่อน แยกเพศอยู่ต้นเดียวกัน ออกเป็นกระจุกตามง่ามใบ ผล แก่สีชมพูถึงแดง ผลกลมแป้น มี 10-12 พู แตกเมื่อแห้ง
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 10 เมตร ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยมี 3-6 คู่ รูปไข่ถึงรูปไข่กลับ กว้าง 2-11 ซม. ยาว 3-30 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ผิวใบ มีขน ดอก สีขาวถึงสีเหลืองอ่อนๆ ออกเป็นช่อตั้งจากปลายยอด หรือซอกใบ ยาวถึง 50 ซม. มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ดอกย่อย ขนาดเล็ก แยกเพศ กลีบรองดอก 5 กลีบ กลีบดอก 4 (-5) กลีบ เกลี้ยงหรือมีขนนุ่ม โคนกลีบแคบ มีขนและมีเกล็ดเล็กๆ 2 เกล็ด เกสรผู้ 8 อัน ผล รูปรีเว้าเป็นพู ผิวเกลี้ยง ผลอ่อนสีเขียว แล้วเปลี่ยน เป็นสีเหลืองแดงจนแก่จัดสีม่วงดำ เมล็ดสีน้ำตาลดำ ไม่มีเนื้อหุ้ม
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 10 เมตร ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยมี 3-6 คู่ รูปไข่ถึงรูปไข่กลับ กว้าง 2-11 ซม. ยาว 3-30 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ผิวใบ มีขน ดอก สีขาวถึงสีเหลืองอ่อนๆ ออกเป็นช่อตั้งจากปลายยอด หรือซอกใบ ยาวถึง 50 ซม. มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ดอกย่อย ขนาดเล็ก แยกเพศ กลีบรองดอก 5 กลีบ กลีบดอก 4 (-5) กลีบ เกลี้ยงหรือมีขนนุ่ม โคนกลีบแคบ มีขนและมีเกล็ดเล็กๆ 2 เกล็ด เกสรผู้ 8 อัน ผล รูปรีเว้าเป็นพู ผิวเกลี้ยง ผลอ่อนสีเขียว แล้วเปลี่ยน เป็นสีเหลืองแดงจนแก่จัดสีม่วงดำ เมล็ดสีน้ำตาลดำ ไม่มีเนื้อหุ้ม
-
ไม้ต้น สูง 16 เมตร ไม่ผลัดใบ เรือนยอดกลมหรือรี เปลือกเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ดสีน้ำตาลปนเทา กิ่งมีขนยาวสีน้ำตาลแดงหนาแน่น
ใบ : ประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ปลายคู่ เรียงเวียนสลับ ใบย่อย 3-9 คู่ รูปไข่หรือรูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ ปลายใบป้านถึงเรียวแหลม โคนใบมนถึงรูปลิ่มกว้าง ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนามีขนนุ่มสีน้ำตาล
ดอก : สีขาวอมเหลือง มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามปลายกิ่ง ดอกแยกเพศร่วมต้น กลีบเลี้ยงรูปไข่กว้างเกือบกลม กลีบดอก 4-5 กลีบ รูปไข่กลับ มีก้านกลีบสั้นๆ ปลายก้านมีเกล็ดและมีสัน 2 สัน รูปคล้ายกระบอง ปลายมีขนยาว จานฐานดอกเป็นวง
ผล : แบบผลผนังชั้นใน แข็ง มีเนื้อ เมล็ดเดียว รูปกลมรี สีม่วงเข้มหรือดำ แยกเป็น 2 พู ผิวเกลี้ยง เมล็ดกลมรีสีน้ำตาลมัน
ใบ : ประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ปลายคู่ เรียงเวียนสลับ ใบย่อย 3-9 คู่ รูปไข่หรือรูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ ปลายใบป้านถึงเรียวแหลม โคนใบมนถึงรูปลิ่มกว้าง ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนามีขนนุ่มสีน้ำตาล
ดอก : สีขาวอมเหลือง มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามปลายกิ่ง ดอกแยกเพศร่วมต้น กลีบเลี้ยงรูปไข่กว้างเกือบกลม กลีบดอก 4-5 กลีบ รูปไข่กลับ มีก้านกลีบสั้นๆ ปลายก้านมีเกล็ดและมีสัน 2 สัน รูปคล้ายกระบอง ปลายมีขนยาว จานฐานดอกเป็นวง
ผล : แบบผลผนังชั้นใน แข็ง มีเนื้อ เมล็ดเดียว รูปกลมรี สีม่วงเข้มหรือดำ แยกเป็น 2 พู ผิวเกลี้ยง เมล็ดกลมรีสีน้ำตาลมัน
ระบบนิเวศ :
-
พบกระจายพันธุ์ทั่วทุกภาคของประเทศ ขึ้นตามป่าผลัดใบ ดิบแล้ง ชายป่า ริมลำธาร ระดับความสูง 300-1,200 เมตร
-
พบตามที่น้ำกร่อย บริเวณป่าพรุน้ำกร่อย แต่สามารถขึ้นได้ดีตามป่าโปร่ง ป่าดิบ ที่ราบเชิงเขา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สมุทรปราการ
-
สมุทรปราการ
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
สมุทรปราการ
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
สุราษฎร์ธานี
-
ราชบุรี
-
สระบุรี
-
จันทบุรี
-
อุทัยธานี
-
นครราชสีมา
-
นครราชสีมา
-
ระนอง
-
กาญจนบุรี
-
อุบลราชธานี
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
พังงา
-
พังงา
-
กำแพงเพชร
-
ชัยภูมิ
-
สตูล
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
สระบุรี
-
สระแก้ว
-
สุพรรณบุรี
-
เลย
-
เลย
-
ขอนแก่น
-
กาญจนบุรี
-
ตรัง, สตูล
-
กาญจนบุรี
-
ชลบุรี
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ลพบุรี
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
พังงา
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ชุมพร
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
-
สมุทรปราการ
-
หนองคาย
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บางกระเจ้า
-
บางกระเจ้า
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
พื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อำเภอพระประแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำประทุน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเลนคลองม่วงกลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ทะเลบัน
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ พุเตย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
การกระจายพันธุ์ :
-
นิเวศวิทยา อินเดีย เอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทุกภาค ตามป่าผลัดใบ ริมลำธารหรือ ชายป่าชื้น ที่ระดับความสูงถึง 1,200 เมตร ออกดอกและติดผลตลอดปี
-
นิเวศวิทยา อินเดีย เอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทุกภาค ตามป่าผลัดใบ ริมลำธารหรือ ชายป่าชื้น ที่ระดับความสูงถึง 1,200 เมตร ออกดอกและติดผลตลอดปี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนยาวหนาแน่นตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก ใบประดับ และกลีบเลี้ยง ใบประกอบปลายคู่ เรียงเวียน ใบย่อยส่วนมากมี 2-6 คู่ รูปไข่ รูปไข่กลับ หรือแกมรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 30 ซม. ก้านใบสั้น ช่อดอกยาวได้ถึง 50 ซม. ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยงรูปไข่กว้างเกือบกลม ยาว 1-2.5 มม. ดอกสีขาวอมเหลือง กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 2-5 มม. เกล็ดที่ปลายกลีบมีขนเครา ก้านชูอับเรณูยาว 1.5-5 มม. มีขนยาว รังไข่มี 3 ช่อง ผลจัก 3 พู รูปรีแคบ ยาว 0.8-1.3 ซม. ไร้ก้าน สีเขียว เปลี่ยนเป็นสีส้มหรือแดง สุกสีม่วงหรือดำ เมล็ดยาวประมาณ 1 ซม. ขั้วเมล็ดขนาดเล็ก
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนยาวหนาแน่นตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก ใบประดับ และกลีบเลี้ยง ใบประกอบปลายคู่ เรียงเวียน ใบย่อยส่วนมากมี 2-6 คู่ รูปไข่ รูปไข่กลับ หรือแกมรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 30 ซม. ก้านใบสั้น ช่อดอกยาวได้ถึง 50 ซม. ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยงรูปไข่กว้างเกือบกลม ยาว 1-2.5 มม. ดอกสีขาวอมเหลือง กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 2-5 มม. เกล็ดที่ปลายกลีบมีขนเครา ก้านชูอับเรณูยาว 1.5-5 มม. มีขนยาว รังไข่มี 3 ช่อง ผลจัก 3 พู รูปรีแคบ ยาว 0.8-1.3 ซม. ไร้ก้าน สีเขียว เปลี่ยนเป็นสีส้มหรือแดง สุกสีม่วงหรือดำ เมล็ดยาวประมาณ 1 ซม. ขั้วเมล็ดขนาดเล็ก
การขยายพันธุ์ :
-
การเพาะเมล็ดและการทำกิ่งตอน
-
การเพาะเมล็ดและการทำกิ่งตอน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
ส่วนของตัวอย่างที่นำมาใช้ :
-
ราก ใบ ผล เมล็ด
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ราก : แก้ไข แก้พิษภายใน ตำพอกศีรษะแก้ไข้ ปวดศีรษะ พอกรักษาโรค
ผิวหนัง ผื่นคัน ต้มน้ำดื่มแก้ซาง
ใบ : รองพื้นและคลุมข้าวสำหรับทำขนมจีนเพื่อกันบูด
ผล : บำรุงกำลัง
เมล็ด : แก้โรคไอหอบ ไข้ซางเด็ก ไอกรน
-
ใบอ่อนรับประทานแทนผัก ผลมีรสหวาน รับประทานได้ ราก แก้ไข้ แก้พิษฝีภายใน ศีรษะแก้ไข้ ปวดศีรษะและพอกรักษาโรคผิวหนังผื่นคันเมล็ด แก้โรคไอหอบ ไข้ซางเด็ก
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
-
กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
ไม้ต้นที่มีสรรพคุณทางสมุนไพร และควรนำมาขยายพันธุ์เพื่อฟื้นฟูและอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวคุ้งบางกะเจ้าสู่ความยั่งยืน, กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2562
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
IUCN Red List
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |