ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 4-8 ม. แตกกิ่งต่ำระเกะระกะใกล้โคนต้น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี รูปรีแกมรูปขอบขนาน หรือรูปไข่กลับ ปลายมนหรือแหลมเล็กน้อย โคนสอบ ขอบเรียบ แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีจางกว่า เมื่อส่องแผ่นใบดูกับแสงสว่างจะปรากฏต่อมน้ำมันโปร่งแสงกระจัดกระจายทั่วไป ช่อดอกออกตามง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง แตกแขนงเล็กน้อย ดอกเล็ก สีขาวอมเหลือง กลีบดอก 4 กลีบ รูปใบหอก แยกกัน เกสรเพศผู้ 8 อัน ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.7-1.2 ซม. ส่วนบนมักมี 4 สัน ปลายผลมีติ่งเล็กน้อย
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบประกอบมีใบเดียว เรียงตรงข้าม รูปรี รูปไข่ หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 3.5–25 ซม. แผ่นใบมีต่อมน้ำมัน ก้านใบยาวได้ถึง 5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกหรือแยกแขนง ออกตามซอกใบ ยาวได้ถึง 25 ซม. ก้านดอกยาว 0.2–1.2 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ดอกสีขาวเรียงจรดกันในตาดอก มี 4 กลีบ รูปใบหอก ยาว 0.4–1.2 ซม. พับงอกลับ ปลายมีติ่งแหลม เกสรเพศผู้ 8 อัน ยาวเท่า ๆ กลีบดอก โคนก้านชูอับเรณูแผ่กว้าง มีขน จานฐานดอกสีเหลืองอ่อน หนาคล้ายนวม รังไข่มี 4 ช่องเชื่อมติดกัน แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด รังไข่และก้านเกสรเพศเมียส่วนมากมีขน ผลผนังชั้นในแข็ง จักตื้น ๆ 4 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5–1.5 ซม. เมล็ดรูปรี ยาว 3–7 มม. มีเยื่อหุ้ม
-
ไม้พุ่ม กึ่ง ไม้ต้นขนาดเล็ก
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 4-8 ม. แตกกิ่งต่ำระเกะระกะใกล้โคนต้น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี รูปรีแกมรูปขอบขนาน หรือรูปไข่กลับ ปลายมนหรือแหลมเล็กน้อย โคนสอบ ขอบเรียบ แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีจางกว่า เมื่อส่องแผ่นใบดูกับแสงสว่างจะปรากฏต่อมน้ำมันโปร่งแสงกระจัดกระจายทั่วไป ช่อดอกออกตามง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง แตกแขนงเล็กน้อย ดอกเล็ก สีขาวอมเหลือง กลีบดอก 4 กลีบ รูปใบหอก แยกกัน เกสรเพศผู้ 8 อัน ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.7-1.2 ซม. ส่วนบนมักมี 4 สัน ปลายผลมีติ่งเล็กน้อย
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 4-8 ม. แตกกิ่งต่ำระเกะระกะใกล้โคนต้น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี รูปรีแกมรูปขอบขนาน หรือรูปไข่กลับ ปลายมนหรือแหลมเล็กน้อย โคนสอบ ขอบเรียบ แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีจางกว่า เมื่อส่องแผ่นใบดูกับแสงสว่างจะปรากฏต่อมน้ำมันโปร่งแสงกระจัดกระจายทั่วไป ช่อดอกออกตามง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง แตกแขนงเล็กน้อย ดอกเล็ก สีขาวอมเหลือง กลีบดอก 4 กลีบ รูปใบหอก แยกกัน เกสรเพศผู้ 8 อัน ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.7-1.2 ซม. ส่วนบนมักมี 4 สัน ปลายผลมีติ่งเล็กน้อย
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 4-8 ม. แตกกิ่งต่ำระเกะระกะใกล้โคนต้น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี รูปรีแกมรูปขอบขนาน หรือรูปไข่กลับ ปลายมนหรือแหลมเล็กน้อย โคนสอบ ขอบเรียบ แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีจางกว่า เมื่อส่องแผ่นใบดูกับแสงสว่างจะปรากฏต่อมน้ำมันโปร่งแสงกระจัดกระจายทั่วไป ช่อดอกออกตามง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง แตกแขนงเล็กน้อย ดอกเล็ก สีขาวอมเหลือง กลีบดอก 4 กลีบ รูปใบหอก แยกกัน เกสรเพศผู้ 8 อัน ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.7-1.2 ซม. ส่วนบนมักมี 4 สัน ปลายผลมีติ่งเล็กน้อย
การกระจายพันธุ์ :
-
ตั้งแต่ อินเดีย ศรีลังกา ไปจนถึงไต้หวัน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงมาเลเซีย และปาปัว ในประเทศไทยพบที่จังหวัดเชียงใหม่ เลย สกลนคร นครพนม นครราชสีมา อุบลราชธานี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ยะลา และปัตตานี พบตามป่าดงดิบ และทุ่งหญ้าชายฝั่ง ระดับความสูง 0-2200 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
-
ตั้งแต่ อินเดีย ศรีลังกา ไปจนถึงไต้หวัน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงมาเลเซีย และปาปัว ในประเทศไทยพบที่จังหวัดเชียงใหม่ เลย สกลนคร นครพนม นครราชสีมา อุบลราชธานี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ยะลา และปัตตานี พบตามป่าดงดิบ และทุ่งหญ้าชายฝั่ง ระดับความสูง 0-2200 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
-
ตั้งแต่ อินเดีย ศรีลังกา ไปจนถึงไต้หวัน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงมาเลเซีย และปาปัว ในประเทศไทยพบที่จังหวัดเชียงใหม่ เลย สกลนคร นครพนม นครราชสีมา อุบลราชธานี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ยะลา และปัตตานี พบตามป่าดงดิบ และทุ่งหญ้าชายฝั่ง ระดับความสูง 0-2200 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
-
ตั้งแต่ อินเดีย ศรีลังกา ไปจนถึงไต้หวัน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไปจนถึงมาเลเซีย และปาปัว ในประเทศไทยพบที่จังหวัดเชียงใหม่ เลย สกลนคร นครพนม นครราชสีมา อุบลราชธานี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ยะลา และปัตตานี พบตามป่าดงดิบ และทุ่งหญ้าชายฝั่ง ระดับความสูง 0-2200 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
-
พื้นที่เกษตรกรรมดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาปะช้าง-แหลมขาม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกห้วยยาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
-
อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น ไม่ผลัดใบ สูง 4-8 เมตร เปลือกต้นบาง สีน้ำตาลเรียบหรือมีรอยแตกตื้นๆ เปลือกชั้นในสีครีมอมชมพู ยอดและกิ่งอ่อนมีขนละเอียดประปราย ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม กว้าง 4.5-7 เซนติเมตร ยาว 13-20 เซนติเมตร โคนใบแหลมหรือตัด ปลายใบแหลมมนหรือหยักเว้าสั้นๆ เนื้อใบบางหรือค่อนข้างหนา ใบแก่บางเหนียว ผิวเรียบเกลี้ยงสีเขียวเข้ม ด้านบนเป็นมัน แผ่นใบมีจุดน้ำมันกระจายทั่วไป เส้นใบข้าง 9-12 คู่ ก้านใบ 1.2-4.5 เซนติเมตร พองออกทั้งสองด้าน ไม่มีหูใบ ตาใบแคบแหลม ดอกช่อแยกแขนง ขนาด 1-1.3 เซนติเมตร ออกที่ซอกใบ ช่อยาว 5-12 เซนติเมตร ดอกย่อยจำนวนมาก มีขนาดเล็ก กลีบดอกสีขาว สีขาวแกมเหลือง สีขาวแกมเขียว หรือสีเขียวหม่น แต่ละช่อย่อยมี 3 ดอก ดอกกลางบานก่อน ก้านดอก 0.5 -2 เซนติเมตร ดอกสมบูรณ์เพศหรือแยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน กลีบดอก 4-5 กลีบ บานออกไม่ซ้อนกัน กลีบแคบและแหลม เกสรตัวผู้ 8 อัน มีก้านชูบางและแบน มีขนที่ฐาน อันที่อยู่ตรงข้ามกลีบเกลี้ยงจะยาวกว่าอันที่อยู่ตรงข้ามกลีบดอก อับเรณูเป็นตุ่มสั้นกว่าก้าน เกสรตัวเมียหมอนรองดอกมีขนหนาแน่นปกคลุม หมอนรองดอกมี 8 ร่อง กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม 4 กลีบ ผลสด รูปทรงกลม รูปไข่กลับหรือรูปกระสวย ขนาด 0.9-2 เซนติเมตร มีจุดต่อมมักจะมีร่อง 4 ร่องด้านบน สีเขียวสด เมื่อสุกเป็นสีเหลืองเขียว ผลไม่แตกมีเนื้อบาง ชั้นหุ้มเมล็ดแข็ง เส้นผ่าศูนย์กลางเมล็ด 3-7 มิลลิเมตร พบตามป่าผสม ป่าละเมาะ ตั้งแต่ระดับน้ำทะเลจนถึง 2,200 เมตร ออกดอกราวเดือนมิถุนายนถึงกันยายน ติดผลราวเดือนกันยายนถึงพฤศจิกายน
-
ไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้น ไม่ผลัดใบ สูง 4-8 เมตร เปลือกต้นบาง สีน้ำตาลเรียบหรือมีรอยแตกตื้นๆ เปลือกชั้นในสีครีมอมชมพู ยอดและกิ่งอ่อนมีขนละเอียดประปราย ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม กว้าง 4.5-7 เซนติเมตร ยาว 13-20 เซนติเมตร โคนใบแหลมหรือตัด ปลายใบแหลมมนหรือหยักเว้าสั้นๆ เนื้อใบบางหรือค่อนข้างหนา ใบแก่บางเหนียว ผิวเรียบเกลี้ยงสีเขียวเข้ม ด้านบนเป็นมัน แผ่นใบมีจุดน้ำมันกระจายทั่วไป เส้นใบข้าง 9-12 คู่ ก้านใบ 1.2-4.5 เซนติเมตร พองออกทั้งสองด้าน ไม่มีหูใบ ตาใบแคบแหลม ดอกช่อแยกแขนง ขนาด 1-1.3 เซนติเมตร ออกที่ซอกใบ ช่อยาว 5-12 เซนติเมตร ดอกย่อยจำนวนมาก มีขนาดเล็ก กลีบดอกสีขาว สีขาวแกมเหลือง สีขาวแกมเขียว หรือสีเขียวหม่น แต่ละช่อย่อยมี 3 ดอก ดอกกลางบานก่อน ก้านดอก 0.5 -2 เซนติเมตร ดอกสมบูรณ์เพศหรือแยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน กลีบดอก 4-5 กลีบ บานออกไม่ซ้อนกัน กลีบแคบและแหลม เกสรตัวผู้ 8 อัน มีก้านชูบางและแบน มีขนที่ฐาน อันที่อยู่ตรงข้ามกลีบเกลี้ยงจะยาวกว่าอันที่อยู่ตรงข้ามกลีบดอก อับเรณูเป็นตุ่มสั้นกว่าก้าน เกสรตัวเมียหมอนรองดอกมีขนหนาแน่นปกคลุม หมอนรองดอกมี 8 ร่อง กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม 4 กลีบ ผลสด รูปทรงกลม รูปไข่กลับหรือรูปกระสวย ขนาด 0.9-2 เซนติเมตร มีจุดต่อมมักจะมีร่อง 4 ร่องด้านบน สีเขียวสด เมื่อสุกเป็นสีเหลืองเขียว ผลไม่แตกมีเนื้อบาง ชั้นหุ้มเมล็ดแข็ง เส้นผ่าศูนย์กลางเมล็ด 3-7 มิลลิเมตร พบตามป่าผสม ป่าละเมาะ ตั้งแต่ระดับน้ำทะเลจนถึง 2,200 เมตร ออกดอกราวเดือนมิถุนายนถึงกันยายน ติดผลราวเดือนกันยายนถึงพฤศจิกายน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่
-
สงขลา
-
สงขลา
-
สงขลา
-
นครราชสีมา
-
เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
-
เพชรบูรณ์
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
พังงา
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
จันทบุรี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
กำแพงเพชร, ตาก
-
ชัยภูมิ
-
สระบุรี
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
อุบลราชธานี
-
สงขลา
-
นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
ชุมพร, ระนอง
-
ชุมพร, ระนอง
-
เชียงใหม่
-
สตูล, สงขลา
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ศรีสะเกษ
-
ชัยภูมิ
-
เพชรบูรณ์
-
บึงกาฬ
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ตาก
-
พื้นที่ทะเลสาบสงขลา
การขยายพันธุ์ :
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร,เครื่องหอม
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.)
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |