ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงถึง ๑๐ ม. ใบประกอบแบบขนนก ๒ ชั้น ขนาดใหญ่ ออกหนาแน่นที่ปลายยอด ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกย่อยสีม่วงแดง ผลเป็นฝักรูปดาบ ยาว ๔๐ – ๑๒๐ ชม. ออกดอก ช่วงเดือนมิถุนายน – สิงหาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดหรือ แบ่งราก
-
ไม้ต้น สูง 5-20 ม. เปลือกสีเทาอมขาวถึงน้ำตาลอมเทา ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกสามชั้นปลายคี่เรียงตรงข้าม ขนาดใหญ่มาก กว้างได้ถึง 80 ซม. ยาวได้ถึง 2 ม. ใบย่อยรูปไข่ รูปรี ถึงรูปขอบขนาน กว้าง 3-9 ซม. ยาว 4-16 ซม. ปลายเรียวแหลม โคนมนถึงเว้ารูปหัวใจ เบี้ยว ขอบเรียบหรือเป็นคลื่น แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้ม เกลี้ยงหรือมีขนตามเส้นใบ ด้านล่างสีจางกว่า อาจพบเกล็ดเล็ก ๆ ประปราย เส้นแขนงใบข้างละ 4-6 เส้น ก้านใบย่อยยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอก แบบช่อกระแจะ ออกที่ยอดหรือปลายกิ่ง มีก้านช่อยาวยื่นโดดเด่นเหนือเรีอนยอดยาว 0.3-1.5 ม. ดอกบานกลางคืน ก้านดอกยาว 2-7 ซม. กลีบเลี้ยงสีม่วงคล้ำ โคนเชื่อมติดกันคล้ายรูประฆังเบี้ยว กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 2-5 ซม. ปลายตัดหรือหยัก 5 แฉกเล็ก ๆ กลีบดอกโดนเชื่อมติดกันเป็นหลอดแคบ ยาว 5-10 ซม. บริเวณใกล้ปลายหลอดผายกว้างได้ถึง 3 ซม. ด้านในสีเหลืองหรือสีเหลืองแต้มสีชมพู มีต่อม ด้านนอกสีม่วงหรือสีม่วงอมแดง ปลายหลอดแยก 5 แฉก รูปไข่กลับ กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 4-6 ซม. สีคล้ายสีหลอดแต่จางกว่าเล็กน้อย มีขนและต่อมเกสรเพศผู้ 5 อัน มักเป็นคู่ ยาวไม่เท่ากัน โคนก้านชูอับเรณูมีต่อมและขน อับเรณูยาวประมาณ 1 ซม. จานฐานดอกหยักตื้น 5 หยัก รังไข่เหนือวงกลีบ มี 2 กลีบ แต่ละช่องมีออวุลจำนวนมาก ก้านเกสรเพศเมียยาว 4-6 ซม. สีม่วง ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่มรี กว้างประมาณ 5 มม. ยาวประมาณ 7 มม. ผล แบบผลแห้งแตก ฝักห้อยลู่ลง รูปขอบขนานหรือรูปใบดาบ กว้าง 7-10 ซม. ยาว 0.3-1.2 ม. แบน ปลายแหลม เปลือกหนา เมล็ด มีจำนวนมาก รูปค่อนข้างกลมหรือรูปขอบขนานแกมรูปรี แบบ มีปีกบางโดยรอบ เมล็ดรวมปีกกว้าง 2.5-4 ซม. ยาว 5-9 ซม.
-
ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงถึง ๑๐ ม. ใบประกอบแบบขนนก ๒ ชั้น ขนาดใหญ่ ออกหนาแน่นที่ปลายยอด ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกย่อยสีม่วงแดง ผลเป็นฝักรูปดาบ ยาว ๔๐ – ๑๒๐ ชม. ออกดอก ช่วงเดือนมิถุนายน – สิงหาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดหรือ แบ่งราก
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบประกอบ 2-4 ชั้น เรียงตรงข้าม ออกหนาแน่นที่ปลายกิ่ง ยาว 60-170 ซม. รวมก้าน ใบย่อยรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 5-13 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาวได้ถึง 1.5 ม. ดอกเรียงแน่นที่ปลายช่อ ก้านดอกยาว 2-7 ซม. กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 2-4 ซม. ขอบเกือบเรียบ ติดทน ดอกรูปแตร หนา สีม่วงอมน้ำตาลแดง ด้านในสีครีม โคนมีปื้นสีน้ำตาลแดง หลอดกลีบดอกช่วงโคนยาวประมาณ 1.5 ซม. ช่วงกว้างยาว 6-9 ซม. กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ พับงอกลับ เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดประมาณกึ่งกลางหลอดกลีบดอก จุดติดมีขน อับเรณูยาวประมาณ 1 ซม. โคนกางออก จานฐานดอกจัก 5 พู ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่าเกสรเพศผู้ ยอดเกสรจัก 2 พูตื้น ๆ ยาวประมาณ 7 มม. ผลแห้งแตกตามรอยประสาน รูปแถบ แบน ยาว 40-120 ซม. เปลือกหนา เมล็ดกลม มีปีกบาง ๆ ยาว 6-7 ซม.
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำประทุน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเลนคลองม่วงกลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขานัน
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
-
อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
เชียงราย
-
ลำปาง
-
อุทัยธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
ระนอง
-
แม่ฮ่องสอน
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
เชียงราย
-
เพชรบูรณ์
-
นครศรีธรรมราช
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
กำแพงเพชร
-
ลำพูน, ลำปาง
-
พะเยา
-
พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
สตูล
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
อุดรธานี, เลย, หนองคาย
-
ตาก
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา, เชียงราย
-
เลย
-
เชียงราย, พะเยา
-
ลำปาง, ตาก
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
น่าน
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
สุโขทัย
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ตรัง, สตูล
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
นครศรีธรรมราช
-
ชลบุรี
-
ชลบุรี
-
กระบี่, ตรัง
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
เชียงใหม่
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
แพร่
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ชัยภูมิ
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
บึงกาฬ
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ชุมพร
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ชุมพร
-
ชุมพร
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
-
สุราษฎร์ธานี
การกระจายพันธุ์ :
-
พืชชนิดนี้มีเขตการกระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งร้อน ในประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ขึ้นตามป่าโปร่ง ชายป่าดิบ บนพื้นที่ราบต่ำไปจนถึงพื้นที่สูงเหนือระดับน้ำทะเลประมาณ 900 ม. และเป็นพืชปลูก ในต่างประเทศพบที่สาธารณรัฐประชาชนจีน ภูฎาน อินเดีย เนปาล เมียนมา ภูมิภาคอินโดจีน และภูมิภาคมาเลเซีย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง ลำต้นสูงชะลูด แตกกิ่งก้านน้อย มีรอยแผลที่เกิดจากการหลุดร่วงของใบ ลำต้นและกิ่งก้านมีรูระบายอากาศ ใบประกอบแบบขนนก 2-3 ชั้น ออกตรงข้ามที่ปลายกิ่ง ใบรูปไข่ โคนใบสอบกลมหรือรูปไต ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกกลมยาวคล้ายหลอด ดอกอ่อนสีเขียว เมื่อแก่ด้านนอกจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีม่วงปนแดงหรือน้ำตาลคล้ำ ด้านในสีเหลืองปนน้ำตาล กลีบดอกมีเนื้อแข็งและหนา ขอบกลีบย่นเมื่อบาน ผลเป็นฝักแบนยาวสีเขียวเข้ม รูปฝักดาบ ห้อยระย้าอยู่เหนือเรือนยอดหรือปลายกิ่ง เปลือกฝักหนา เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีกจากปลายผล เมล็ดแบนสีขาว มีปีกบางกว้างล้อมรอบ
-
เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง ลำต้นสูงชะลูด แตกกิ่งก้านน้อย มีรอยแผลที่เกิดจากการหลุดร่วงของใบ ลำต้นและกิ่งก้านมีรูระบายอากาศ ใบประกอบแบบขนนก 2-3 ชั้น ออกตรงข้ามที่ปลายกิ่ง ใบรูปไข่ โคนใบสอบกลมหรือรูปไต ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกกลมยาวคล้ายหลอด ดอกอ่อนสีเขียว เมื่อแก่ด้านนอกจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีม่วงปนแดงหรือน้ำตาลคล้ำ ด้านในสีเหลืองปนน้ำตาล กลีบดอกมีเนื้อแข็งและหนา ขอบกลีบย่นเมื่อบาน ผลเป็นฝักแบนยาวสีเขียวเข้ม รูปฝักดาบ ห้อยระย้าอยู่เหนือเรือนยอดหรือปลายกิ่ง เปลือกฝักหนา เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีกจากปลายผล เมล็ดแบนสีขาว มีปีกบางกว้างล้อมรอบ
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
การขยายพันธุ์ :
-
1. เพาะเมล็ด
2. การปักชำราก
2. การปักชำราก
-
1. เพาะเมล็ด
2. การปักชำราก
2. การปักชำราก
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นตามชายป่า ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร หรือพบปลูกตามบ้านเรือน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,สมุนไพร,ไม้ดอกไม้ประดับ,ฝักใช้ขับลม แก้ร้อนใน กระหายนำ้ ระบายท้อง เมล็ด แก้ไอ เปลือกต้นใช้ขับเสมหะ
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
COUNTRY CULTIVAR
gsno | plantname | ชนิดพันธุ์ | ชื่อวิทยาศาสตร์ | เก็บที่จังหวัด |
---|---|---|---|---|
DOATR 00037 | เพกา | Oroxylum indicum | สุโขทัย | |
DOATR 00044 | เพกา | Oroxylum indicum | แพร่ | |
DOATR 00050 | เพกา (ลิ้นฟ้า) | Oroxylum indicum | น่าน | |
DOATR 00057 | เพกา | Oroxylum indicum | นครศรีธรรมราช | |
gsno | plantname | ชนิดพันธุ์ | ชื่อวิทยาศาสตร์ | เก็บที่จังหวัด |