ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
สัตว์เลื้อยคลาน
-
ความยาวจากปลายปากถึงก้นยาว 18 ซ.ม. และความยาวของหาง 17 ซ.ม. หัวโต รูม่านตารีในแนวตั้ง นิ้วตีนแผ่แบน ใต้นิ้วมีแผ่นยึดเกาะเรียงเป็นแถวเดี่ยว ปลายนิ้วมีเล็บ ตามตัวมีสีครีมหรือน้ำทะเลเรียงเป็นแนวตามขวาง ระหว่างแนวเหล่านี้มีจุดสีส้มหรือแดงกระจายทั่ว หางมีลายพาด
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ยาว 18 เซนติเมตร หาง 17 เซนติเมตร หัวโต รูม่านตารีในแนวตั้ง นิ้วตีนแผ่แบน ใต้นิ้วมีแผ่นยึดเกาะเรียงเป็นแถวเดี่ยว ปลายนิ้วมีเล็บตามตัวมีสีครีมหรือน้ำทะเลเรียงป็นแนวตามขวาง ระหว่างแถวเหล่านี้มีจุดสีส้มหรือแดงกระจายทั่ว หางมีลายพาด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครพนม
-
จันทบุรี,ฉะเชิงเทรา,ขอนแก่น,ชลบุรี,กำแพงเพชร,กาฬสินธุ์,ชัยนาท,ชุมพร,เชียงใหม่,เชียงราย,ตรัง,ตาก,นครนายก,นครพนม,นครปฐม,นคราชสีมา,นครศรีธรรมราช,นครสวรรค์,ตราด,นราธิวาส,น่าน,บุรีรัมย์,ปทุมธานี,นนทบุรี,ปราจีนบุรี,ปัตตานี,พระนครศรีอยุธยา,ประจวบคีรีขันธ์,พะเยา,พังงา,พัทลุง,พิจิตร,เพชรบุรี,เพชรบูรณ์,แพร่,ภูเก็ต,พิษณุโลก,มหาสารคาม,มุกดาหาร,ยโสธร,แม่ฮ่องสอน,ยะลา,ร้อยเอ็ด,ระยอง,ราชบุรี,ระนอง,ลพบุรี,ลำปาง,ลำพูน,เลย,ศรีสะเกษ,ชัยภูมิ,สกลนคร,สงขลา,สตูล,สมุทรปราการ,กาญจนบุรี,สมุทรสงคราม,สมุทรสาคร,สระแก้ว,สระบุรี,สิงห์บุรี,สุโขทัย,สุพรรณบุรี,อุตรดิตถ์,อำนาจเจริญ,อ่างทอง,หนองบัวลำภู,หนองคาย,อุดรธานี,อุทัยธานี,บึงกาฬ,อุบลราชธานี,กระบี่,สุราษฎร์ธานี,กรุงเทพมหานคร,สุรินทร์
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
เลย
-
สุราษฎร์ธานี
-
พะเยา
-
น่าน
-
น่าน
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
ตราด
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
กำแพงเพชร
-
อุตรดิตถ์
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
พะเยา
-
เชียงใหม่
-
จันทบุรี
-
พิษณุโลก
-
บุรีรัมย์
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
พะเยา, สุราษฎร์ธานี, ระนอง, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, ชียงราย
-
ยะลา,ปัตตานี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
แม่น้ำสงครามตอนล่าง
-
All Provinces.
-
ป่าภูหลวง
-
หมู่เกาะอ่างทอง
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
อำเภอเวียงสา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกคลองแก้ว
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
พรุลานควาย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
ระบบนิเวศ :
-
พบอาศัยในป่าหลากหลายประเภท พื้นที่เกษตรกรรมประเภทพืชสวน และชุมชน อาศัยอยู่ได้ตามบ้านเรือน
-
This species dwells in all habitats of forest and other plantations, including houses and gardens in towns.
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศเกาะ
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
อาคารสิ่งปลูกสร้าง
การกระจายพันธุ์ :
-
พบทุกจังหวัด
-
พบทุกจังหวัด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เป็นอาหาร คนอีสานในบางพื้นที่มีความเชื่อว่า เด็กที่เป็นโรคซางพุงโร ก้นปอด ให้กินปิ้งกับแก้ หรือตุ๊กแกก็จะหายเป็นโรคซาง
ข้อมูลภูมิปัญญา
-
ตุ๊กแกบ้านในประเทศไทย :: ตุ๊กแกบ้านในประเทศไทย
“ ตุ๊กแกบ้าน “ นับเป็นสัตว์ชนิดแรก ๆ ของโลกที่นักสัตววิทยาได้รู้จักและตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ขึ้นมา
ตุ๊กแกบ้านมีลักษณะทั่วไปคือเป็นสัตว์เลื้อยคลานจำพวกจิ้งจกตุ๊กแกที่มีลำตัวและหัวขนาดใหญ่
ลำตัวปกคลุมด้วยเกล็ดขนาดเล็ก และมีเกล็ดที่มีลักษณะเป็นตุ่มนูนแทรกอยู่ทั่วลำตัว ตามีขนาดใหญ่ มีรูม่านตารีในแนวตั้ง
โดยตุ๊กแกสามารถปรับระดับความเข้มของสีได้ตามอารมณ์หรือตามความเข้มของวัตถุที่เกาะอยู่
แต่ไม่สามารถเปลี่ยนสีและลายจากเดิมได้ และการปรับความเข้มจะต้องเปลี่ยนทั้งตัว
ไม่สามารถปรับสีบางส่วนของร่างกายได้ในตุ๊กแกปกติ แต่ตุ๊กแกบ้านแต่ละพื้นที่อาจมีสีและลายแตกต่า
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians, 2005
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 9 Amphibians and Raptiles in Thailand, 2543
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
IUCN Red List
-
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ข้อมูลสภานภาพ CITES
CITES โลก
- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2019-11-26)
- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2019-11-26)
CITES ไทย
- บัญชีหมายเลข II
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Tissue | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Tissue | |||
Tissue | |||
Tissue | |||
Tissue | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Alcohol | |||
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |