ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
Inhabits disturbed areas such as gardens, crop plantations, secondary forests and primary forests.
-
ระบบนิเวศภูเขา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แม่ฮ่องสอน,เชียงใหม่,แพร่,ตาก,พิษณุโลก,หนองคาย,กาฬสินธุ์,ร้อยเอ็ด,อุบลราชธานี,นคราชสีมา,ฉะเชิงเทรา,จันทบุรี,เพชรบุรี,สุราษฎร์ธานี,ระนอง,กระบี่,นครศรีธรรมราช,สงขลา
-
แม่ฮ่องสอน, แพร่, เชียงใหม่, ตาก, หนองคาย, กาฬสินธุ์, ร้อยเอ็ด, อุบลราชธานี, นครราชสีมา, ฉะเชิงเทรา, สระแก้ว, กาญจนบุรี, เพชรบุรี, อุทัยธานี, ระนอง, กระบี่, สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช
-
เลย
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
ตราด
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
กำแพงเพชร
-
อุตรดิตถ์
-
เชียงใหม่
-
บุรีรัมย์
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Mae Hog Son (Muang); Chiang Mai (Doi Chiang Dao); Phrae Mae Yom); Tak (Um Pang, Thung Yai); Phitsanulok (Wat Bos); Nong Khai (Phu Wua); Kalasin (Phu Si Than); Roi Et
(Phu Pha Namthip); Ubon Ratchathani (Yod Dome); Nakhon
Ratchasima (Sakaerat); Chachoengsao (Khao Ang Rue Ni);
Srakaew (Ko Klan, Pang Si Da, Ta Praya); Chanthaburi (Khao
Sebab); Uthai Thani (Haui Khakhaeng); Kanchanaburi
(Erawan, Pilok, Thong Pha Phum); Phetchaburi (Kaengkrachan);
Surat Thani (Khlong Saeng, Koh Samui); Ranong (Muang);
Krabi (Khao Pra Bang Kram); Nakhon Si Thammarat (Muang,
Khao Luang); Songkhla (Ton Ngachang).
(Phu Pha Namthip); Ubon Ratchathani (Yod Dome); Nakhon
Ratchasima (Sakaerat); Chachoengsao (Khao Ang Rue Ni);
Srakaew (Ko Klan, Pang Si Da, Ta Praya); Chanthaburi (Khao
Sebab); Uthai Thani (Haui Khakhaeng); Kanchanaburi
(Erawan, Pilok, Thong Pha Phum); Phetchaburi (Kaengkrachan);
Surat Thani (Khlong Saeng, Koh Samui); Ranong (Muang);
Krabi (Khao Pra Bang Kram); Nakhon Si Thammarat (Muang,
Khao Luang); Songkhla (Ton Ngachang).
-
ป่าภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกคลองแก้ว
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ลำตัวสีแดงหรือสีเขียวมะกอกอมเทา หลังมีแต้มสีเข้มรูปคล้ายน้ำเต้า ข้างหัวและลำตัวมีแถบสีดำด้านขาอาจมีหรือไม่มีลายพาดสีเข้ม คอและอกสีเทาหรือสีน้ำตาลประจุดสีขาว พบทุกภาค
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เป็นอาหาร
ที่มาของข้อมูล
-
Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians, 2005
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 9 Amphibians and Raptiles in Thailand, 2543
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช