ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็ก (22-23 ซม.) มีขนาดใหญ่กว่านกเค้าแคระ ด้านบนลำตัวสีน้ำตาล
รวมทั้งหัว มีลายพาดสีเนื้อแกมน้ำตาลเหลือง คอหอยสีขาวมีลายสีน้ำตาลและ
สีเนื้อพาด บริเวณอกมีลายพาดสีน้ำตาลเข้มและสีเนื้อ ด้านล่างลำตัวส่วนที่เหลือ
มีลายขีดขนาดใหญ่สีน้ำตาลแกมน้ำตาลเหลืองและสีขาว ตาสีเหลือง
- ตาเหลือง คล้ายนกเค้าแคระแต่ขนาดใหญ่กว่า หัวและลำตัวด้านบนมีลายขาวงสีน้ำตาลอ่อนชัดเจนกว่า ไม่มีลายคล้ายตาปลอมที่ท้ายทอย อกและสีข้างมีลายสีน้ำตาลแดงคล้ำ ท้องสีขาว
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ตาเหลือง คล้ายนกเค้าแคระ แต่ขนาดใหญ่กว่า หัวและลำตัวด้านบนมีลายขวางสีน้ำตาลอ่อนชัดเจนกว่า ไม่มีลายคล้ายตาปลอมที่ท้ายทอย อกและสีข้างมีลายน้ำตาลแดงคล้ำ ท้องขาว
ระบบนิเวศ :
- ป่าดิบค่อนข้างโปร่ง ป่าโปร่ง สวนผลไม้ ที่ราบถึงความสูง 1,980 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- พบตามป่าทั่วไป และทุ่งโล่ง หากินส่วนใหญ่ในตอนกลางวัน พบบ่อยที่เกาะตามกิ่งไม้ที่ไม่มีใบ หรือตามตอไม้ในช่วงแดดจ้า คอยจ้องเหยื่อตามพื้นดิน ซึ่งได้แก่ ด้วงปีกแข็ง ตั๊กแตน จี้กจั่น แมลงขนาดใหญ่อื่นๆ
- ป่าดิบค่อนข้างโปร่ง ป่าโปร่ง สวนผลไม้
- ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา,พื้นที่การทำเกษตร
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศภูเขา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี
- เชียงใหม่
- เลย
- มุกดาหาร
- พะเยา
- น่าน
- นนทบุรี
- ชุมพร, พะเยา, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน ทำรังตามโพรงต้นไม้ซึ่งปรกติเป็นโพรงตามธรรมชาติ ไข่สีขาว แต่ละรังมีไข่ 3-5 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 14 - 15 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- ป่าภูหลวง
- ภูผาเทิบ
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- บ้านดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
- ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
ข้อมูลสภานภาพ CITES

CITES โลก

- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2013-06-12)

CITES ไทย

- บัญชีหมายเลข II

พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ