ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก ใบประกอบมี 1 ใบย่อย เรียงสลับ ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม ผลกลม ผิวขรุขระ ใบและเปลือกผล มีน้ำมันหอมระเหยมาก
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก ใบประกอบมี 1 ใบย่อย เรียงสลับ ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม ผลกลม ผิวขรุขระ ใบและเปลือกผล มีน้ำมันหอมระเหยมาก
-
วิสัยพืช ไม้ต้นขนาดเล็ก ลำต้น เป็นไม้เนื้อแข็ง สูง 2-8 เมตร เปลือกเรียบมีสีน้ำตาลอ่อน แตกกิ่งก้านจำนวนมาก กิ่งมีหนามแหลมยาว ใบ เป็นใบประกอบที่มีใบย่อยใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ก้านใบแผ่ออกเป็นครีบคล้ายแผ่นใบ แผ่นใบหนา เรียบ เป็นมัน สีเขียว และเขียวเข้มตามอายุ
-
วิสัยพืช ไม้ต้นขนาดเล็ก ลำต้น เป็นไม้เนื้อแข็ง สูง 2-8 เมตร เปลือกเรียบมีสีน้ำตาลอ่อน แตกกิ่งก้านจำนวนมาก กิ่งมีหนามแหลมยาว ใบ เป็นใบประกอบที่มีใบย่อยใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ก้านใบแผ่ออกเป็นครีบคล้ายแผ่นใบ แผ่นใบหนา เรียบ เป็นมัน สีเขียว และเขียวเข้มตามอายุ
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีน้ำตาล มีหนามแหลมตามกิ่งก้านใบ ประกอบแบบนิ้วมือ เรียงสลับ ใบย่อย 1 ใบ กว้าง 5- 7 เซนติเมตร ยาว 6 - 15เซนติเมตร ปลายและโคนมน ขอบเรียบถึงหยักมน แผ่นใบเป็นมันสีเขียวเข้ม แผ่นใบ มีต่อมน้ำมัน มีกลิ่นหอม ก้านใบมีปีกดูคล้ายใบ ดอก แบบช่อกระจะ ออกที่ชอกใบและปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอกโคนเชื่อมติดกัน ปลายแยก 5 กลีบ สีขาวเกสรเพศผู้จำนวนมาก รังไข่เหนือวงกลีบ ผล แบบผลส้ม (ผลผนังชั้นในเป็นกลีบ)ทรงกลมหรือรูปไข่ ผิวขรุขระ มีต่อมน้ำมัน ผลสุกสีเหลือง มีรสเปรี้ยว เมล็ดรูปรี
การขยายพันธุ์ :
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
ตอนกิ่ง และเมล็ด
-
ตอนกิ่ง และเมล็ด
-
เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
ระบบนิเวศ :
-
เป็นไม้กลางแจ้ง ต้องการน้ำ และความชื้นในปริมาณปานกลาง
-
เป็นไม้กลางแจ้ง ต้องการน้ำ และความชื้นในปริมาณปานกลาง
การกระจายพันธุ์ :
-
แหล่งกำเนิดของมะกรูดไม่ทราบแน่ชัด แต่ปลูกแพร่หลายในมาเลเซีย พม่า และศรีลังกามาจนเป็นเสมือนพืชพื้นเมือง
-
แหล่งกำเนิดของมะกรูดไม่ทราบแน่ชัด แต่ปลูกแพร่หลายในมาเลเซีย พม่า และศรีลังกามาจนเป็นเสมือนพืชพื้นเมือง
-
จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถึงนิวกีนี ประเทศไทยพบทุกภาค
การเก็บเกี่ยว :
-
เก็บใบ 40-45 วันหลังตัด เก็บผล 130-150 วันหลังออกดอก
-
เก็บใบ 40-45 วันหลังตัด เก็บผล 130-150 วันหลังออกดอก
พื้นที่เพาะปลูก :
-
พื้นที่ปลูกมากที่สุดตามลำดับ ดังนี้ ราชบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี อ่างทอง นครราชสีมา (ระบบจัดเก็บและรายงานข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือนระดับตำบล กรมส่งเสริมการเกษตร, 2559, http://www.agriinfo.doae.go.th/year60/plant/rortor/fruit2/kaffir.pdf)
-
พื้นที่ปลูกมากที่สุดตามลำดับ ดังนี้ ราชบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี อ่างทอง นครราชสีมา (ระบบจัดเก็บและรายงานข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือนระดับตำบล กรมส่งเสริมการเกษตร, 2559, http://www.agriinfo.doae.go.th/year60/plant/rortor/fruit2/kaffir.pdf)
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ออกดอกเดือนสิงหาคม - กรกฎาคม ผลสุกเดือน กันยายน - ตุลาคม