ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
พื้นที่เกษตรกรรมริมน้ำนนทบุรีและเกาะเกร็ด
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นนทบุรี
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
ลำปาง
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง ๑๕ เมตร ลำต้นและกิ่งมีหนาม
ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ๒ ชั้น ออกรวมกันแน่นบริเวณปลายกิ่ง ใบย่อยรูปไข่กลับแกมรี คู่ที่ปลายใหญ่กว่าคู่อื่น
ดอก ออกเป็นช่อสั้นๆที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเขียวครีม กลีบดอก ๕ กลีบ ส่วนโคนติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น ๕ แฉก เกสรผู้จำนวนมาก
ผล เป็นฝักทรงกระบอกโค้ง ขดเป็นวง คอดเป็นปล้องๆ กว้าง ๑-๒ ซม. ยาว ๕-๑๕ ซม. สีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีชมพูหรือแดง เนื้อในหุ้มผลสีขาวบางทีมีสีชมพูแซม เมล็ดสีดำ แบน มีปล้องละ ๑ เมล็ด
ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ๒ ชั้น ออกรวมกันแน่นบริเวณปลายกิ่ง ใบย่อยรูปไข่กลับแกมรี คู่ที่ปลายใหญ่กว่าคู่อื่น
ดอก ออกเป็นช่อสั้นๆที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเขียวครีม กลีบดอก ๕ กลีบ ส่วนโคนติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น ๕ แฉก เกสรผู้จำนวนมาก
ผล เป็นฝักทรงกระบอกโค้ง ขดเป็นวง คอดเป็นปล้องๆ กว้าง ๑-๒ ซม. ยาว ๕-๑๕ ซม. สีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีชมพูหรือแดง เนื้อในหุ้มผลสีขาวบางทีมีสีชมพูแซม เมล็ดสีดำ แบน มีปล้องละ ๑ เมล็ด
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง ๑๕ เมตร ลำต้นและกิ่งมีหนาม
ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ๒ ชั้น ออกรวมกันแน่นบริเวณปลายกิ่ง ใบย่อยรูปไข่กลับแกมรี คู่ที่ปลายใหญ่กว่าคู่อื่น
ดอก ออกเป็นช่อสั้นๆที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเขียวครีม กลีบดอก ๕ กลีบ ส่วนโคนติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น ๕ แฉก เกสรผู้จำนวนมาก
ผล เป็นฝักทรงกระบอกโค้ง ขดเป็นวง คอดเป็นปล้องๆ กว้าง ๑-๒ ซม. ยาว ๕-๑๕ ซม. สีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีชมพูหรือแดง เนื้อในหุ้มผลสีขาวบางทีมีสีชมพูแซม เมล็ดสีดำ แบน มีปล้องละ ๑ เมล็ด
ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ๒ ชั้น ออกรวมกันแน่นบริเวณปลายกิ่ง ใบย่อยรูปไข่กลับแกมรี คู่ที่ปลายใหญ่กว่าคู่อื่น
ดอก ออกเป็นช่อสั้นๆที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเขียวครีม กลีบดอก ๕ กลีบ ส่วนโคนติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น ๕ แฉก เกสรผู้จำนวนมาก
ผล เป็นฝักทรงกระบอกโค้ง ขดเป็นวง คอดเป็นปล้องๆ กว้าง ๑-๒ ซม. ยาว ๕-๑๕ ซม. สีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีชมพูหรือแดง เนื้อในหุ้มผลสีขาวบางทีมีสีชมพูแซม เมล็ดสีดำ แบน มีปล้องละ ๑ เมล็ด
การขยายพันธุ์ :
-
นิยมปลูกด้วยการเพาะเมล็ด
- วัสดุที่ใช้เพาะมะขามเทศควรเป็นดินผสมระหว่างดินร่วนผสมกับวัสดุอินทรีย์ เช่น แกลบดำ ขุยมะพร้าว และปุ๋ยคอก อัตราส่วนผสมประมาณ 1:2
- การเพาะ นิยมเพาะเมล็ดในถุงเพาะชำ เมื่อเมล็ดงอก และต้นกล้าโตประมาณ 20-30 ซม. ก็สามารถแยกปลูกในแปลงได้
- วัสดุที่ใช้เพาะมะขามเทศควรเป็นดินผสมระหว่างดินร่วนผสมกับวัสดุอินทรีย์ เช่น แกลบดำ ขุยมะพร้าว และปุ๋ยคอก อัตราส่วนผสมประมาณ 1:2
- การเพาะ นิยมเพาะเมล็ดในถุงเพาะชำ เมื่อเมล็ดงอก และต้นกล้าโตประมาณ 20-30 ซม. ก็สามารถแยกปลูกในแปลงได้
-
นิยมปลูกด้วยการเพาะเมล็ด
- วัสดุที่ใช้เพาะมะขามเทศควรเป็นดินผสมระหว่างดินร่วนผสมกับวัสดุอินทรีย์ เช่น แกลบดำ ขุยมะพร้าว และปุ๋ยคอก อัตราส่วนผสมประมาณ 1:2
- การเพาะ นิยมเพาะเมล็ดในถุงเพาะชำ เมื่อเมล็ดงอก และต้นกล้าโตประมาณ 20-30 ซม. ก็สามารถแยกปลูกในแปลงได้
- วัสดุที่ใช้เพาะมะขามเทศควรเป็นดินผสมระหว่างดินร่วนผสมกับวัสดุอินทรีย์ เช่น แกลบดำ ขุยมะพร้าว และปุ๋ยคอก อัตราส่วนผสมประมาณ 1:2
- การเพาะ นิยมเพาะเมล็ดในถุงเพาะชำ เมื่อเมล็ดงอก และต้นกล้าโตประมาณ 20-30 ซม. ก็สามารถแยกปลูกในแปลงได้
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
ที่มาของข้อมูล
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
พื้นที่บางกระเจ้า