ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
พืชลอยน้ำอายุหลายปี รากออกตามข้อลำต้นกลม มีนวมสีขาวฟูหุ้มช่วยให้ลอยน้ำ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก เมื่อถูกสัมผัสจะหุบได้ ก้านใบยาว 2-4 ซม. ใบย่อย 8-18 รูปขอบขนานกว้าง 1.2-3 มม. ยาว 4-10 มม. ขอบใบมีขน ดอก ออกเป็นช่อกลมสีเหลืองขนาดประมาณ 2 ซม. ก้านช่อดอกยาว 5-12 ซม. ดอกย่อยสมบูรณ์เพศอยู่ตรงกลาง กลีบเลี้ยงเชื่อมกันยาว 2.4-3.7 มม. ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ยาว 3-4.3 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน ดอกที่เป็นหมันขนาดใหญ่กว่าอยู่ด้านนอก ผล เป็นฝักแบน ขอบขนานกว้าง 0.8-1 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. แห้งแล้วแตก มี 4-8 เมล็ด รูปไข่
-
พืชลอยน้ำอายุหลายปี รากออกตามข้อลำต้นกลม มีนวมสีขาวฟูหุ้มช่วยให้ลอยน้ำ ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก เมื่อถูกสัมผัสจะหุบได้ ก้านใบยาว 2-4 ซม. ใบย่อย 8-18 รูปขอบขนานกว้าง 1.2-3 มม. ยาว 4-10 มม. ขอบใบมีขน ดอก ออกเป็นช่อกลมสีเหลืองขนาดประมาณ 2 ซม. ก้านช่อดอกยาว 5-12 ซม. ดอกย่อยสมบูรณ์เพศอยู่ตรงกลาง กลีบเลี้ยงเชื่อมกันยาว 2.4-3.7 มม. ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ยาว 3-4.3 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน ดอกที่เป็นหมันขนาดใหญ่กว่าอยู่ด้านนอก ผล เป็นฝักแบน ขอบขนานกว้าง 0.8-1 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. แห้งแล้วแตก มี 4-8 เมล็ด รูปไข่
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นในเขตร้อนทั่วไป ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค ชาวบ้าน
-
พบขึ้นในเขตร้อนทั่วไป ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค ชาวบ้าน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,ทำยา
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน (Inland Water Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
พื้นที่บางกระเจ้า