ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ยืนต้น สูง 15-30 เมตร เปลือกสีเทาหรือสีน้ำตาลเข้ม ใบ แบบใบประกอบแบบขนนก ยาว 5-10 ซม. กว้าง 2-4 ซม. ใบย่อย รูปขอบขนาน จำนวน 10-20 คู่ ออกตรงข้าม ยาว 1.2-2 ซม. กว้าง 3-5 มม. ขอบใบเรียบ ปลายเป็นติ่งแหลม ช่อดอก แบบช่อเชิงลดห้อยลง ก้านช่อดอก ยาว 5-10 มม. กลีบเลี้ยง เป็นแผ่นรูปช้อน 2 แผ่น ยาว1-1.2 ซม. กลีบดอก มี 5 กลีบ กลีบเจริญ 3 กลีบ สีเหลืองอ่อนมีเส้นภายในสีแดง กลีบดอก 2 กลีบ ลดรูป เกสรเพศผู้ มีก้านเกสรเชื่อมติดกัน เกสรที่สมบูรณ์ 3 อัน อีก 2 อัน เป็นเส้นเรียว เกสรเพศเมีย เหนือกลีบเลี้ยง ปลายเกสร เป็นก้อนรูปรี ผล แบบฝัก โค้ง ค่อนข้างแบน ยาว 7-15 ซม. กว้าง 2-3 ซม. เปลือกเมื่อแก่สีน้ำตาลเข้ม เมล็ด สีน้ำตาลเข้มหรือสีดำ
-
ไม้ยืนต้น สูง 15-30 เมตร เปลือกสีเทาหรือสีน้ำตาลเข้ม ใบ แบบใบประกอบแบบขนนก ยาว 5-10 ซม. กว้าง 2-4 ซม. ใบย่อย รูปขอบขนาน จำนวน 10-20 คู่ ออกตรงข้าม ยาว 1.2-2 ซม. กว้าง 3-5 มม. ขอบใบเรียบ ปลายเป็นติ่งแหลม ช่อดอก แบบช่อเชิงลดห้อยลง ก้านช่อดอก ยาว 5-10 มม. กลีบเลี้ยง เป็นแผ่นรูปช้อน 2 แผ่น ยาว1-1.2 ซม. กลีบดอก มี 5 กลีบ กลีบเจริญ 3 กลีบ สีเหลืองอ่อนมีเส้นภายในสีแดง กลีบดอก 2 กลีบ ลดรูป เกสรเพศผู้ มีก้านเกสรเชื่อมติดกัน เกสรที่สมบูรณ์ 3 อัน อีก 2 อัน เป็นเส้นเรียว เกสรเพศเมีย เหนือกลีบเลี้ยง ปลายเกสร เป็นก้อนรูปรี ผล แบบฝัก โค้ง ค่อนข้างแบน ยาว 7-15 ซม. กว้าง 2-3 ซม. เปลือกเมื่อแก่สีน้ำตาลเข้ม เมล็ด สีน้ำตาลเข้มหรือสีดำ
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดที่เกาะมาดากัสกาแพร่กระจายแอฟริกาตะวันออกและอินเดีย
-
มีถิ่นกำเนิดที่เกาะมาดากัสกาแพร่กระจายแอฟริกาตะวันออกและอินเดีย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
พื้นที่เกษตรกรรมริมน้ำนนทบุรีและเกาะเกร็ด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นนทบุรี
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
ชัยภูมิ
-
ชลบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ชัยภูมิ
-
บึงกาฬ
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
ตาก
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ต้นมะขาม : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่
- ใบ : เป็นใบประกอบ ออกเป็นคู่ เรียงกันตามก้านใบ ปลายใบและโคนใบมน
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อเล็กๆ อยู่ตามบริเวณปลายกิ่ง ขนาดเล็ก มีกลีบสีเหลือง ผลมี 2 ชนิด คือ ชนิดฝักกลมเล็กยาวเรียกว่า “มะขามขี้แมว” ชนิดฝักใหญ่แบนเรียกว่า “มะขามกระดาน”
- เมล็ด : เป็นรูปค่อนข้างกลม ผิวเปลือกเกลี้ยงสีน้ำตาลเข้ม
- ใบ : เป็นใบประกอบ ออกเป็นคู่ เรียงกันตามก้านใบ ปลายใบและโคนใบมน
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อเล็กๆ อยู่ตามบริเวณปลายกิ่ง ขนาดเล็ก มีกลีบสีเหลือง ผลมี 2 ชนิด คือ ชนิดฝักกลมเล็กยาวเรียกว่า “มะขามขี้แมว” ชนิดฝักใหญ่แบนเรียกว่า “มะขามกระดาน”
- เมล็ด : เป็นรูปค่อนข้างกลม ผิวเปลือกเกลี้ยงสีน้ำตาลเข้ม
-
- ต้นมะขาม : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่
- ใบ : เป็นใบประกอบ ออกเป็นคู่ เรียงกันตามก้านใบ ปลายใบและโคนใบมน
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อเล็กๆ อยู่ตามบริเวณปลายกิ่ง ขนาดเล็ก มีกลีบสีเหลือง ผลมี 2 ชนิด คือ ชนิดฝักกลมเล็กยาวเรียกว่า “มะขามขี้แมว” ชนิดฝักใหญ่แบนเรียกว่า “มะขามกระดาน”
- เมล็ด : เป็นรูปค่อนข้างกลม ผิวเปลือกเกลี้ยงสีน้ำตาลเข้ม
- ใบ : เป็นใบประกอบ ออกเป็นคู่ เรียงกันตามก้านใบ ปลายใบและโคนใบมน
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อเล็กๆ อยู่ตามบริเวณปลายกิ่ง ขนาดเล็ก มีกลีบสีเหลือง ผลมี 2 ชนิด คือ ชนิดฝักกลมเล็กยาวเรียกว่า “มะขามขี้แมว” ชนิดฝักใหญ่แบนเรียกว่า “มะขามกระดาน”
- เมล็ด : เป็นรูปค่อนข้างกลม ผิวเปลือกเกลี้ยงสีน้ำตาลเข้ม
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
3. การทาบกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
3. การทาบกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
3. การทาบกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
3. การทาบกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,เนื้อไม้ทำเครื่องเรือน ดอกและฝักเป็นอาหาร เนื้อในฝักเป็นยาระบายอ่อนๆ
-
เนื้อไม้ใช้ทำเป็นเขียง ที่มีคุณภาพดีมาก เพราะเป็นไม้ที่เหนียวทน ใบแก่มีรสเปรี้ยวฝาด ใช้นำมาปรุงเป็นยาแก้ไอ แก้โรคบิดขับเสมหะในลำไส้ หรือนำมาต้มกับหัวหอม โกรกศรีษะเด็กในเวลาเช้ามืด แก้หวัดจมูกได้ หรือใช้น้ำที่ต้มให้สตรีหลังคลอดอาบและใช้อบไอน้ำได้เป็นต้น ใบอ่อนและดอก ใช้รับประทานเป็นอาหารได้ เนื้อในผล (มะขามเปียก) ใช้ผลแก่ประมาณ 10-20 ฝัก นำมาจิ้มเกลือกิน แล้วดื่มน้ำตามลงไปหรืออาจใช้ทำเป็นน้ำมะขามคั้นเอาน้ำกิน เป็นยาแก้อาการท้องผูก เป็นยาระบาย แก้ไอ ขับเสมหะ ช่วยลดอุณหภูมิในร่างกาย ลดการกระหายน้ำ หรือใช้เนื้อมะขามผสมกับข่าและเกลือพอประมาณ รับประทานเป็นยาขับเลือดขับลม แก้สันนิบาตหน้าเพลิง หรืออาจใช้ผสมกับปูนแดง แล้วนำมาพอกหรือทาบริเวณที่เป็นกลากเกลื้อนหรือฝี เมล็ดแก่นำมาคั่วให้เกรียมแล้วกระเทาะเปลือกออก ใช้ประมาณ 20-30 เม็ด นำมาแช่น้ำเกลือจนอ่อน ใช้กินเป็นยาถ่ายพยาธิไส้เดือนในท้องเด็กได้หรือใช้เปลือกนอกที่กระเทาะออก ซึ่งจะมีรสฝาด ใช้กินเป็นยาแก้ท้องร่วง และแก้อาเจียนได้ดี
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
-
IUCN Red List
-
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Dry | |||
Dry | |||
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
COUNTRY CULTIVAR
gsno | plantname | ชนิดพันธุ์ | ชื่อวิทยาศาสตร์ | เก็บที่จังหวัด |
---|---|---|---|---|
DOATR 00032 | มะขาม | Tamarindus indica | นครราชสีมา | |
DOATR 00035 | มะขาม | Tamarindus indica | นครราชสีมา | |
gsno | plantname | ชนิดพันธุ์ | ชื่อวิทยาศาสตร์ | เก็บที่จังหวัด |