ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๒๐ ม. ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ใบย่อยรูปรี ขอบใบหยัก ดอกสีขาว กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดยาว ๖ – ๑๐ ซม. ปลายกลีบแผ่บานออกคล้ายปากแตร มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเป็นฝักเรียวยาว บิดเป็นเกลียว เมล็ดรูปสี่เหลี่ยมแบน มีปีกบางใส ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ์ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบประกอบยาว 12–35 ซม. มีใบย่อย 3–5 คู่ รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 5–14 ซม. ขอบใบจักห่าง ๆ โคนเบี้ยว ก้านใบยาว 0.5–1.3 ซม. ช่อดอกยาว 2–3 ซม. ก้านดอกยาว 1.8–4 ซม. กลีบเลี้ยงเป็นกาบ ยาว 4–5 ซม. หลอดกลีบดอกยาว 6–10 ซม. ปลายบานออกรูประฆัง ยาว 5–8 ซม. เกสรเพศผู้ยาว 3–5 ซม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันยาวประมาณ 1 ซม. รังไข่ยาวประมาณ 1.5 ซม. ก้านเกสรเพศเมียยาวได้ถึง 12 ซม. ผลรูปแถบ บิดงอ ยาวได้ถึง 85 ซม. เมล็ดรูปสี่เหลี่ยม ยาว 2.2–2.8 ซม. รวมปีกบางใส (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ แคทะเล, สกุล))
-
ไม้ต้น ไม้ผลัดใบ ใบประกอบออกเป็นคู่ ใบย่อยบางใบมน รูปไข่กลับ ปลายแหลม โคนใบไม่เท่ากัน ขอบหยัก ใต้ผิวมีต่อมเรียงตามเส้นกลางใบ ดอกช่อแบบติดดอกสลับ กลีบเลี้ยงเป็นรูปกรวย กลีบดอกเป็นหลอด ผลแตกได้ มีเมล็ดบาง ซึ่งมีปีก
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๒๐ ม. ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ใบย่อยรูปรี ขอบใบหยัก ดอกสีขาว กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดยาว ๖ – ๑๐ ซม. ปลายกลีบแผ่บานออกคล้ายปากแตร มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเป็นฝักเรียวยาว บิดเป็นเกลียว เมล็ดรูปสี่เหลี่ยมแบน มีปีกบางใส ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ์ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๒๐ ม. ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ใบย่อยรูปรี ขอบใบหยัก ดอกสีขาว กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดยาว ๖ – ๑๐ ซม. ปลายกลีบแผ่บานออกคล้ายปากแตร มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเป็นฝักเรียวยาว บิดเป็นเกลียว เมล็ดรูปสี่เหลี่ยมแบน มีปีกบางใส ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ์ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูงถึง ๒๐ ม. ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ใบย่อยรูปรี ขอบใบหยัก ดอกสีขาว กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดยาว ๖ – ๑๐ ซม. ปลายกลีบแผ่บานออกคล้ายปากแตร มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ผลเป็นฝักเรียวยาว บิดเป็นเกลียว เมล็ดรูปสี่เหลี่ยมแบน มีปีกบางใส ออกดอกช่วงเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ์ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
-
ไม้ยืนต้น ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ลำต้นตรงมักแตกกิ่งต่ำ ใบ: ใบเป็นช่อ ช่อใบติดตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ช่อใบรูปขนนก ยาว 12-35 เซนติเมตร ใบช่อหนึ่งๆ มีใบย่อยรูปรีหรือ รูปรีแกมรูปไข่กลับ 3-7 ใบ ใบย่อยจะติดตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ส่วนปลายสุดของช่อใบจะเป็นใบเดี่ยวๆ ดอก: ดอกโตสีขาว รูปแจกันทรงสูงหรือรูปแตร ออกรวมกันเป็นช่อสั้นๆ ตามปลายกิ่ง ช่อดอกแบบติด ดอกสลับ ยาว 2-3 เซนติเมตร แต่ละช่อมีดอกอยู่รวมกัน 3-7 ดอก ผล: ฝักคดโค้งหรือบิดไปมา ผิวหนา เรียบและแข็งเป็นแผ่นหนัง จะมีจุดประสีอ่อนกว่าสีพื้นทั่วไป เปลือก: เปลือกสีน้ำตาล อมเทาและมีประสีดำขาว เปลือกเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ดเล็กๆ ทั่วไป)
-
ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์- พฤษภาคม ติดผลเดือน มีนาคม-มิถุนายน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลน้อย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขานัน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
การกระจายพันธุ์ :
-
มีเขตการกระจายพันธุ์อยู่ในประเทศลาว พม่า เวียดนาม และในประเทศไทยสามารถพบได้ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และทางภาคกลาง โดยอาจจะได้ประปรายในป่าเบญจพรรณ และพบได้บ่อยตามนาข้าว ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ระดับความสูงไม่เกิน 300 เมตร
-
พม่า ลาว เวียดนาม ประเทศไทยพบในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง พบในป่าเบญจพรรณ ที่สูงตั้งแต่ระดับทะเลปานกลางถึง 1,200 เมตร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 7-20 เมตร เรือนยอดรูปทรงกระบอก ใบ ประกอบแบบขนนกชั้นเดียวปลายคี่ เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ใบย่อย 7-9 ใบ รูปรีหรือรูปรีแกมรูปไข่กลับ กว้าง 3-5 เซนติเมตร ยาว 5-10 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลม โคนสอบและเบี้ยว ขอบหยักตื้นหรือเรียบ แผ่นใบบางคล้ายกระดาษ ด้านล่างมีต่อมขนาดใหญ่ตลอดเส้นกลางใบ ดอก เดี่ยว หรือแบบช่อกระจะ ดอกย่อย 3-7 ดอก เส้นผ่านศูนย์กลาง 8 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย มีจะงอยยาว 3-5 เซนติเมตร กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปปากแตร ปลายแยก 5 กลีบ ผิวและขอบกลีบดอกยับย่นเป็นริ้ว เกสรเพศผู้ 4 เกสร สั้น 2 ยาว 2 และเกสรเพศผู้เป็นหมัน 1 เกสร รังไข่เหนือวงกลีบ มี 2 ช่อง ยอดเกสรเพศเมีย แยกเป็น 2 พู ผล แห้งแตกสองซีก รูปทรงกระบอก ฝักคดโค้งหรือบิด หนา เรียบ และแข็ง ยาวประมาณ 85 เซนติเมตร เมล็ดบางแบน ปลายทั้งสองด้านมีเยื่อ บางใสคล้ายปีก สีขาว โปร่งแสง
ระบบนิเวศ :
-
พบในป่าเบญจพรรณ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สระบุรี
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ลำปาง
-
พัทลุง, นครศรีธรรมราช
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
นครศรีธรรมราช
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
กำแพงเพชร
-
ลำปาง, ลำพูน
-
ตาก
-
ชัยภูมิ
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
อุบลราชธานี
-
กาญจนบุรี
-
ชลบุรี
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, น่าน
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ตาก
-
ตาก
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,ต้มรับประทานแก้ท้องร่วง แก้บวม ตกเลือดแก้พยาธิ แก้ฝีราก แก้ริดสีดวงงอก
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
-
มูลนิธิสวนหลวง ร.9
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Dry | |||
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
COUNTRY CULTIVAR
gsno | plantname | ชนิดพันธุ์ | ชื่อวิทยาศาสตร์ | เก็บที่จังหวัด |
---|---|---|---|---|
DOATR 00060 | แคนา | Dolichandrone serrulata | กรุงเทพฯ | |
gsno | plantname | ชนิดพันธุ์ | ชื่อวิทยาศาสตร์ | เก็บที่จังหวัด |