ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
- ต้น : ไม้พุ่มขนาดกลาง อายุหลายปี สูง 5-6 เมตร เปลือกสีน้ำตาลอมเทา
- ใบ : ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อยรูปไข่หรือรูปขอบขนาน ปลายแหลม โคนมน ขอบเรียบ แผ่นใบผิวเกลี้ยง เป็นมัน สีเขียว
- ดอก : ดอกเป็นช่อแบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอมชมพู สีขาวนวล หรือสีชมพู กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่แคบ กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ เกสรเพศผู้ 10 เกสร ก้านชูอับเรณูโค้งงอ ยาว 3 เกสร สั้น 4 เกสร และลดรูปอีก 3 เกสร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม
- ผล : เป็นฝักรูปทรงกระบอก
- ใบ : ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อยรูปไข่หรือรูปขอบขนาน ปลายแหลม โคนมน ขอบเรียบ แผ่นใบผิวเกลี้ยง เป็นมัน สีเขียว
- ดอก : ดอกเป็นช่อแบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอมชมพู สีขาวนวล หรือสีชมพู กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่แคบ กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ เกสรเพศผู้ 10 เกสร ก้านชูอับเรณูโค้งงอ ยาว 3 เกสร สั้น 4 เกสร และลดรูปอีก 3 เกสร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม
- ผล : เป็นฝักรูปทรงกระบอก
-
ไม้ต้นขนาดกลาง ลำต้นสีน้ำตาลแกมเทาเกลี้ยงๆ ชอบขึ้นตามป่าผลัดใบ หรือในที่ดินที่มีการถ่ายเทน้ำได้ดี ใบ เป็นใบช่อสีเขียวเป็นมัน ช่อหนึ่งๆ ยาวประมาณ 2.5 ซม. มีใบย่อยรูปป้อมๆ หรือรูปไข่ 3-6 คู่ ใบย่อยกว้างๆ 5-7 ซม. ยาว 9-15 ซม. โคนใบมนและค่อยๆ สอบไปทางปลายใบ เนื้อใบเกลี้ยงค่อนข้างบาง เส้นแขนงใบถี่ และโค้งไปตามรูปใบ ดอก ออกเป็นช่อ ยาว 20-45 ซม. กลีบรองกลีบดอกรูปขอบขนานยาวประมาณ 1 ซม. มี 5 กลีบ มักหลุดร่วงง่าย กลีบดอกยาวกว่ากลีบรองกลีบดอกประมาณ 2-3 เท่า และมีกลีบรูปไข่กลับ 5 กลีบ ตามพื้นกลีบจะเห็นเส้นกลีบชัดเจน เกสรผู้มีขนาดแตกต่างกันจำนวน 10 อัน ก้านอับเรณูโค้งงอขึ้น ผล เป็นฝักรูปทรงกระบอกเกลี้ยงๆ อาจยาวถึง 50 ซม. โตวัดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.0-2.5 ซม. ฝัก อ่อนสีเขียวและออกสีดำเมื่อแก่จัด ในฝักจะมีผนังเยื่อบางๆ กั้นเป็นช่องๆ ตามขวางของฝัก และตามช่องเหล่านี้จะมีเมล็ดแบนๆ สีน้ำตาลอยู่
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบประกอบยาว 30-40 ซม. มีใบย่อย 3-8 คู่ รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 7-13 ซม. ปลายแหลม โคนรูปลิ่ม ก้านใบย่อยยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกห้อยลง ยาว 20-60 ซม. ใบประดับยาวประมาณ 1 ซม. ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 3-5 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่แคบ ยาว 1-1.5 ซม. ดอกสีเหลือง กลีบรูปไข่กว้าง ยาว 2.5-3.5 ซม. มีก้านสั้น ๆ เกสรเพศผู้อันยาว 3 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 3-4 ซม. โค้งงอ อับเรณูยาวประมาณ 5 มม. มีรูเปิดที่โคน อันสั้น 4 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 0.6-1 ซม. ตรง ลดรูป 3 อัน รังไข่และก้านเกสรเพศเมียมีขนกำมะหยี่ ฝักรูปทรงกระบอก ห้อยลง ยาว 20-60 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม. เมล็ดรูปรี แบน สีน้ำตาลเป็นเงา ยาวประมาณ 1 ซม. มีผนังกั้นบาง ๆ
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-15 เมตร ใบ เป็นใบประกอบ แบบขนนกปลายคู่ ใบย่อย 3-8 คู่ รูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 4-8 ซม. ยาว 7-12 ซม. ดอก สีเหลืองสด ออกตามซอกใบ เป็นช่อห้อยลง ยาว 20-40 ซม. ดอกย่อยจำนวนมาก ขนาดบานกว้าง ประมาณ 3 ซม. กลีบรองดอก 5 กลีบ ผิวด้านนอกมีขน กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ เกสรผู้ 10 อัน สั้น 7 อัน ยาว 3 อัน ก้านเกสรเมีย และรังไข่มีขนยาว ผล เป็นฝักยาว รูปแท่งกลม กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 20-60 ซม. ฝักแก่ไม่แตก แต่จะหลุดร่วงทั้งฝัก และหักแตกเป็นชิ้น เมล็ด มีเนื้อเหนียวสีดำหุ้ม
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบประกอบยาว 30–40 ซม. มีใบย่อย 3–8 คู่ รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 7–13 ซม. ปลายแหลม โคนรูปลิ่ม ก้านใบย่อยยาว 0.5–1 ซม. ช่อดอกห้อยลง ยาว 20–60 ซม. ใบประดับยาวประมาณ 1 ซม. ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 3–5 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่แคบ ยาว 1–1.5 ซม. ดอกสีเหลือง กลีบรูปไข่กว้าง ยาว 2.5–3.5 ซม. มีก้านสั้น ๆ เกสรเพศผู้อันยาว 3 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 3–4 ซม. โค้งงอ อับเรณูยาวประมาณ 5 มม. มีรูเปิดที่โคน อันสั้น 4 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 0.6–1 ซม. ตรง ลดรูป 3 อัน รังไข่และก้านเกสรเพศเมียมีขนกำมะหยี่ ฝักรูปทรงกระบอก ห้อยลง ยาว 20–60 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5–2.5 ซม. เมล็ดรูปรี แบน สีน้ำตาลเป็นเงา ยาวประมาณ 1 ซม. มีผนังกั้นบาง ๆ
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-15 เมตร ใบ เป็นใบประกอบ แบบขนนกปลายคู่ ใบย่อย 3-8 คู่ รูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 4-8 ซม. ยาว 7-12 ซม. ดอก สีเหลืองสด ออกตามซอกใบ เป็นช่อห้อยลง ยาว 20-40 ซม. ดอกย่อยจำนวนมาก ขนาดบานกว้าง ประมาณ 3 ซม. กลีบรองดอก 5 กลีบ ผิวด้านนอกมีขน กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ เกสรผู้ 10 อัน สั้น 7 อัน ยาว 3 อัน ก้านเกสรเมีย และรังไข่มีขนยาว ผล เป็นฝักยาว รูปแท่งกลม กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 20-60 ซม. ฝักแก่ไม่แตก แต่จะหลุดร่วงทั้งฝัก และหักแตกเป็นชิ้น เมล็ด มีเนื้อเหนียวสีดำหุ้ม
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-15 เมตร ใบ เป็นใบประกอบ แบบขนนกปลายคู่ ใบย่อย 3-8 คู่ รูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 4-8 ซม. ยาว 7-12 ซม. ดอก สีเหลืองสด ออกตามซอกใบ เป็นช่อห้อยลง ยาว 20-40 ซม. ดอกย่อยจำนวนมาก ขนาดบานกว้าง ประมาณ 3 ซม. กลีบรองดอก 5 กลีบ ผิวด้านนอกมีขน กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ เกสรผู้ 10 อัน สั้น 7 อัน ยาว 3 อัน ก้านเกสรเมีย และรังไข่มีขนยาว ผล เป็นฝักยาว รูปแท่งกลม กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 20-60 ซม. ฝักแก่ไม่แตก แต่จะหลุดร่วงทั้งฝัก และหักแตกเป็นชิ้น เมล็ด มีเนื้อเหนียวสีดำหุ้ม
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-15 เมตร ใบ เป็นใบประกอบ แบบขนนกปลายคู่ ใบย่อย 3-8 คู่ รูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 4-8 ซม. ยาว 7-12 ซม. ดอก สีเหลืองสด ออกตามซอกใบ เป็นช่อห้อยลง ยาว 20-40 ซม. ดอกย่อยจำนวนมาก ขนาดบานกว้าง ประมาณ 3 ซม. กลีบรองดอก 5 กลีบ ผิวด้านนอกมีขน กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่ เกสรผู้ 10 อัน สั้น 7 อัน ยาว 3 อัน ก้านเกสรเมีย และรังไข่มีขนยาว ผล เป็นฝักยาว รูปแท่งกลม กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 20-60 ซม. ฝักแก่ไม่แตก แต่จะหลุดร่วงทั้งฝัก และหักแตกเป็นชิ้น เมล็ด มีเนื้อเหนียวสีดำหุ้ม
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง
การกระจายพันธุ์ :
-
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ พุเตย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แพร่,น่าน
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
เชียงราย
-
ลำปาง
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
อุตรดิตถ์
-
เพชรบูรณ์
-
พัทลุง
-
กาญจนบุรี
-
กำแพงเพชร
-
ลำปาง
-
พะเยา
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
สุพรรณบุรี
-
เลย
-
เลย
-
เลย
-
พะเยา, เชียงราย
-
เลย
-
ลำปาง, แพร่
-
เชียงใหม่
-
น่าน
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
กาญจนบุรี
-
ชลบุรี
-
กำแพงเพชร
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ลำปาง
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
การขยายพันธุ์ :
-
โดยการเพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
-
การเพาะเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ไม้ดอกไม้ประดับ
-
ต้มกิน แก้ไทฟอยด์
ข้อมูลภูมิปัญญา
-
ไม้ต้นมงคลที่เรามองข้าม :: คนไทยส่วนใหญ่มักจะมีความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการดำรงชีวิตประจำวัน การประกอบพิธีทางศาสนา การเฉลิมฉลอง หรือเทศกาลต่าง ๆ ที่มีทั้งเหมือนและแตกต่างกันไป ไม่มากก็น้อย นอกจากนี้ ต้นไม้มงคล ก็เป็นอีกหนึ่งความเชื่อของคนไทยที่มีอยู่มายาวนาน บางชนิดเกี่ยวพันถึงการประกอบพิธีมงคล บางชนิดปลูกเพื่อเสริมความเจริญรุ่งเรืองให้เจ้าของบ้านและผู้อยู่อาศัย และบางส่วนของต้นนั้นยังมีสรรพคุณเป็นยารักษาอาการเจ็บป่วยต่าง ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น
ราชพฤกษ์ (Cassia fistula L.) • ชื่อเรียกอื่น ๆ : คูน, ลมแล้ง, ลักเกลือ, ลักเคย, อ้อดิบ, กุเพยะ•
ความเชื่อเกี่ยวกับราชพฤกษ์ : เป็นไม้มงคลที่ควรปลูกในทิศตะวันตกเฉียงใ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2018)
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
-
IUCN Red List
-
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
-
คู่มือพันธ์ุไม้ท้องถิ่น ตำบลแม่กิ๊ก อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช