ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูงถึง 15 เมตร ใบ เป็นใบเดี่ยวออกสลับ รูปไข่ กว้างถึงค่อนข้างกลมลักษณะเป็น 2 พู เส้นผ่าศูนย์กลาง 6-18 ซม. ปลายเว้าลึก โคนเว้ารูปหัวใจ เส้นใบออกจากโคนใบ ดอก สีขาวกลีบตั้งมีเส้นริ้วในสีเหลืองแดงชัดเจน มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อสั้นตามกิ่งจำนวนดอกน้อย กลีบดอก 5 กลีบ เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลาง 7-12 ซม. ยาว 20-30 ซม. ฝัก แก่แตกได้มี 10-25เมตร
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูงถึง 15 เมตร ใบ เป็นใบเดี่ยวออกสลับ รูปไข่ กว้างถึงค่อนข้างกลมลักษณะเป็น 2 พู เส้นผ่าศูนย์กลาง 6-18 ซม. ปลายเว้าลึก โคนเว้ารูปหัวใจ เส้นใบออกจากโคนใบ ดอก สีขาวกลีบตั้งมีเส้นริ้วในสีเหลืองแดงชัดเจน มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อสั้นตามกิ่งจำนวนดอกน้อย กลีบดอก 5 กลีบ เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลาง 7-12 ซม. ยาว 20-30 ซม. ฝัก แก่แตกได้มี 10-25เมตร
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูงถึง 15 เมตร ใบ เป็นใบเดี่ยวออกสลับ รูปไข่ กว้างถึงค่อนข้างกลมลักษณะเป็น 2 พู เส้นผ่าศูนย์กลาง 6-18 ซม. ปลายเว้าลึก โคนเว้ารูปหัวใจ เส้นใบออกจากโคนใบ ดอก สีขาวกลีบตั้งมีเส้นริ้วในสีเหลืองแดงชัดเจน มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อสั้นตามกิ่งจำนวนดอกน้อย กลีบดอก 5 กลีบ เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลาง 7-12 ซม. ยาว 20-30 ซม. ฝัก แก่แตกได้มี 10-25เมตร
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูงถึง 15 เมตร ใบ เป็นใบเดี่ยวออกสลับ รูปไข่ กว้างถึงค่อนข้างกลมลักษณะเป็น 2 พู เส้นผ่าศูนย์กลาง 6-18 ซม. ปลายเว้าลึก โคนเว้ารูปหัวใจ เส้นใบออกจากโคนใบ ดอก สีขาวกลีบตั้งมีเส้นริ้วในสีเหลืองแดงชัดเจน มีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อสั้นตามกิ่งจำนวนดอกน้อย กลีบดอก 5 กลีบ เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลาง 7-12 ซม. ยาว 20-30 ซม. ฝัก แก่แตกได้มี 10-25เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงใต้ ทั่วไปออกดอกเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
-
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงใต้ ทั่วไปออกดอกเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
-
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงใต้ ทั่วไปออกดอกเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
-
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงใต้ ทั่วไปออกดอกเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่
-
เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
ตาก
-
ลำปาง, แพร่
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
เชียงใหม่
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ใบเสี้ยวป่า ใช้ผสมกับลำต้นกำแพงเจ็ดชั้น นำมาต้มกับน้ำดื่มวันละ 3 ครั้ง เป็นยาฟอกโลหิต
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
-
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช