ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม หรือไม้ต้นเตี้ยๆ ลำต้นมีเนื้อไม้ แตกกิ่งก้านมากที่โคนต้น เปลือกไม้สีเทาคล้ายขี้เถ้า แตกเป็นร่องตามยาว กิ่งไม่มีเนื้อไม้ ส่วนใต้ใบและส่วนที่ยังอ่อนมีขนนุ่มปกคลุม ใบไม่มีก้าน หรือมีก้านสั้น โอบหุ้มลำต้นเล็กน้อย รูปรีกว้าง หรือรูปขอบขนาน อวบน้ำ ปลายแหลม โคนใบรูปหัวใจ กว้าง 6-12.5 เซนติเมตร ยาว 9-20 เซนติเมตร ช่อดอกเป็นช่อซี่ร่ม ก้านช่อดอกยาว 6-10 เซนติเมตร ก้านดอกย่อยยาว 2.5-4 เซนติเมตร มีขนสีเหลืองส้มปกคลุม กลีบเลี้ยงรูปไข่กว้าง ปลายแหลม กว้าง 2-3 มิลลิเมตร ยาว 4-6 มิลลิเมตร มีขนนุ่มปกคลุม กลีบดอกผิวเกลี้ยง สีขาว สีม่วงแดง หรือสีม่วง หลอดกลีบดอกสั้น แต่ละแฉกรูปรี-รูปใบหอก กว้าง 0.5-0.8 เซนติเมตร ยาว 1-1.5 เซนติเมตร ปลายแหลม วงประดับมี 5 แฉก อวบน้ำ เชื่อมติดกัน สั้นกว่าเส้าเกสรเพศผู้ ปลายมน มีติ่งมนทางด้านข้าง ฐานเป็นเดือยมน อับเรณูมีเยื่อบางหุ้ม ผลออกเป็นคู่ๆ รูปรี คล้ายเรือ
-
ไม้พุ่ม หรือไม้ต้นเตี้ยๆ ลำต้นมีเนื้อไม้ แตกกิ่งก้านมากที่โคนต้น เปลือกไม้สีเทาคล้ายขี้เถ้า แตกเป็นร่องตามยาว กิ่งไม่มีเนื้อไม้ ส่วนใต้ใบและส่วนที่ยังอ่อนมีขนนุ่มปกคลุม ใบไม่มีก้าน หรือมีก้านสั้น โอบหุ้มลำต้นเล็กน้อย รูปรีกว้าง หรือรูปขอบขนาน อวบน้ำ ปลายแหลม โคนใบรูปหัวใจ กว้าง 6-12.5 เซนติเมตร ยาว 9-20 เซนติเมตร ช่อดอกเป็นช่อซี่ร่ม ก้านช่อดอกยาว 6-10 เซนติเมตร ก้านดอกย่อยยาว 2.5-4 เซนติเมตร มีขนสีเหลืองส้มปกคลุม กลีบเลี้ยงรูปไข่กว้าง ปลายแหลม กว้าง 2-3 มิลลิเมตร ยาว 4-6 มิลลิเมตร มีขนนุ่มปกคลุม กลีบดอกผิวเกลี้ยง สีขาว สีม่วงแดง หรือสีม่วง หลอดกลีบดอกสั้น แต่ละแฉกรูปรี-รูปใบหอก กว้าง 0.5-0.8 เซนติเมตร ยาว 1-1.5 เซนติเมตร ปลายแหลม วงประดับมี 5 แฉก อวบน้ำ เชื่อมติดกัน สั้นกว่าเส้าเกสรเพศผู้ ปลายมน มีติ่งมนทางด้านข้าง ฐานเป็นเดือยมน อับเรณูมีเยื่อบางหุ้ม ผลออกเป็นคู่ๆ รูปรี คล้ายเรือ
-
ไม้พุ่ม หรือไม้ต้นเตี้ยๆ ลำต้นมีเนื้อไม้ แตกกิ่งก้านมากที่โคนต้น เปลือกไม้สีเทาคล้ายขี้เถ้า แตกเป็นร่องตามยาว กิ่งไม่มีเนื้อไม้ ส่วนใต้ใบและส่วนที่ยังอ่อนมีขนนุ่มปกคลุม ใบไม่มีก้าน หรือมีก้านสั้น โอบหุ้มลำต้นเล็กน้อย รูปรีกว้าง หรือรูปขอบขนาน อวบน้ำ ปลายแหลม โคนใบรูปหัวใจ กว้าง 6-12.5 เซนติเมตร ยาว 9-20 เซนติเมตร ช่อดอกเป็นช่อซี่ร่ม ก้านช่อดอกยาว 6-10 เซนติเมตร ก้านดอกย่อยยาว 2.5-4 เซนติเมตร มีขนสีเหลืองส้มปกคลุม กลีบเลี้ยงรูปไข่กว้าง ปลายแหลม กว้าง 2-3 มิลลิเมตร ยาว 4-6 มิลลิเมตร มีขนนุ่มปกคลุม กลีบดอกผิวเกลี้ยง สีขาว สีม่วงแดง หรือสีม่วง หลอดกลีบดอกสั้น แต่ละแฉกรูปรี-รูปใบหอก กว้าง 0.5-0.8 เซนติเมตร ยาว 1-1.5 เซนติเมตร ปลายแหลม วงประดับมี 5 แฉก อวบน้ำ เชื่อมติดกัน สั้นกว่าเส้าเกสรเพศผู้ ปลายมน มีติ่งมนทางด้านข้าง ฐานเป็นเดือยมน อับเรณูมีเยื่อบางหุ้ม ผลออกเป็นคู่ๆ รูปรี คล้ายเรือ
-
ไม้พุ่ม หรือไม้ต้นเตี้ยๆ ลำต้นมีเนื้อไม้ แตกกิ่งก้านมากที่โคนต้น เปลือกไม้สีเทาคล้ายขี้เถ้า แตกเป็นร่องตามยาว กิ่งไม่มีเนื้อไม้ ส่วนใต้ใบและส่วนที่ยังอ่อนมีขนนุ่มปกคลุม ใบไม่มีก้าน หรือมีก้านสั้น โอบหุ้มลำต้นเล็กน้อย รูปรีกว้าง หรือรูปขอบขนาน อวบน้ำ ปลายแหลม โคนใบรูปหัวใจ กว้าง 6-12.5 เซนติเมตร ยาว 9-20 เซนติเมตร ช่อดอกเป็นช่อซี่ร่ม ก้านช่อดอกยาว 6-10 เซนติเมตร ก้านดอกย่อยยาว 2.5-4 เซนติเมตร มีขนสีเหลืองส้มปกคลุม กลีบเลี้ยงรูปไข่กว้าง ปลายแหลม กว้าง 2-3 มิลลิเมตร ยาว 4-6 มิลลิเมตร มีขนนุ่มปกคลุม กลีบดอกผิวเกลี้ยง สีขาว สีม่วงแดง หรือสีม่วง หลอดกลีบดอกสั้น แต่ละแฉกรูปรี-รูปใบหอก กว้าง 0.5-0.8 เซนติเมตร ยาว 1-1.5 เซนติเมตร ปลายแหลม วงประดับมี 5 แฉก อวบน้ำ เชื่อมติดกัน สั้นกว่าเส้าเกสรเพศผู้ ปลายมน มีติ่งมนทางด้านข้าง ฐานเป็นเดือยมน อับเรณูมีเยื่อบางหุ้ม ผลออกเป็นคู่ๆ รูปรี คล้ายเรือ
การกระจายพันธุ์ :
-
กระจายพันธุ์กว้างตั้งแต่อินเดีย ไปจนถึงพม่า จีน ไทย คาบสมุทรมลายู อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และนิวกินิ มักขึ้นเป็นวัชพืชตามพื้นที่รกร้าง เปิดโล่ง ริมถนน ริมทางรถไฟ และตามหมู่บ้าน ออกดอกติดผลตลอดปี แต่ออกมากในฤดูร้อน
-
กระจายพันธุ์กว้างตั้งแต่อินเดีย ไปจนถึงพม่า จีน ไทย คาบสมุทรมลายู อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และนิวกินิ มักขึ้นเป็นวัชพืชตามพื้นที่รกร้าง เปิดโล่ง ริมถนน ริมทางรถไฟ และตามหมู่บ้าน ออกดอกติดผลตลอดปี แต่ออกมากในฤดูร้อน
-
กระจายพันธุ์กว้างตั้งแต่อินเดีย ไปจนถึงพม่า จีน ไทย คาบสมุทรมลายู อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และนิวกินิ มักขึ้นเป็นวัชพืชตามพื้นที่รกร้าง เปิดโล่ง ริมถนน ริมทางรถไฟ และตามหมู่บ้าน ออกดอกติดผลตลอดปี แต่ออกมากในฤดูร้อน
-
กระจายพันธุ์กว้างตั้งแต่อินเดีย ไปจนถึงพม่า จีน ไทย คาบสมุทรมลายู อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และนิวกินิ มักขึ้นเป็นวัชพืชตามพื้นที่รกร้าง เปิดโล่ง ริมถนน ริมทางรถไฟ และตามหมู่บ้าน ออกดอกติดผลตลอดปี แต่ออกมากในฤดูร้อน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มกึ่งไม้ต้นขนาดเล็ก (ExS/ST) สูงประมาณ 1.5-3 เมตร แตกกิ่งก้านสาขาออกเป็นพุ่มกว้าง ลำต้นจะมียางสีขาวข้น ตามกิ่งก้านมีขนขาวนุ่มละเอียดปกคลุม
ใบ : เป็นใบเดี่ยว ออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน ลักษณะใบรูปรีแกมขอบขนาน ปลายใบมน ขอบใบเรียบ โคนใบรูปหัวใจ สีเขียวอ่อน เนื้อใบหนา ก้านใบสั้น ทั่วไปจะมีขนละเอียดเป็นเหลือบสีขาวนวลปกคลุมทั้งใบ ใบจึงออกเป็นสีเขียว เทาและหม่น
ดอก : ออกเป็นช่อ อยู่ตามปลายกิ่ง มีขน ก้านช่อยาว ดอกตูมรูปป้อม กลีบรองกลีบดอกมี 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นท่อประมาณครึ่งหนึ่งของความยาว เวลาบานกลีบดอกจะกางออกหรือเบนไปด้านหลัง ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 2.5 ซม. สีขาว เส้าเกสร 5 กลีบ ติดกับเกสรตัวผู้ ลักษณะคล้ายมงกุฎ สีม่วง
ผล : เป็นฝัก ส่วนมากเป็นฝักคู่ บางครั้งพบเป็นฝักเดี่ยว ฝักแก้จะแตกตามยาว ลักษณะของผลจะกลมและยาว ผลอ่อนจะเป็นสีเขียว เมื่อแก่ก็จะกลายเป็นสีน้ำตาล และแตกปลิวคล้ายนุ่น มีเมล็ดจำนวนมาก
เมล็ด : มีขนสีขาว เป็นมัน ช่วยการกระจายพันธุ์โดยปลิวไปตามลม
ใบ : เป็นใบเดี่ยว ออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน ลักษณะใบรูปรีแกมขอบขนาน ปลายใบมน ขอบใบเรียบ โคนใบรูปหัวใจ สีเขียวอ่อน เนื้อใบหนา ก้านใบสั้น ทั่วไปจะมีขนละเอียดเป็นเหลือบสีขาวนวลปกคลุมทั้งใบ ใบจึงออกเป็นสีเขียว เทาและหม่น
ดอก : ออกเป็นช่อ อยู่ตามปลายกิ่ง มีขน ก้านช่อยาว ดอกตูมรูปป้อม กลีบรองกลีบดอกมี 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ เชื่อมติดกันเป็นท่อประมาณครึ่งหนึ่งของความยาว เวลาบานกลีบดอกจะกางออกหรือเบนไปด้านหลัง ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 2.5 ซม. สีขาว เส้าเกสร 5 กลีบ ติดกับเกสรตัวผู้ ลักษณะคล้ายมงกุฎ สีม่วง
ผล : เป็นฝัก ส่วนมากเป็นฝักคู่ บางครั้งพบเป็นฝักเดี่ยว ฝักแก้จะแตกตามยาว ลักษณะของผลจะกลมและยาว ผลอ่อนจะเป็นสีเขียว เมื่อแก่ก็จะกลายเป็นสีน้ำตาล และแตกปลิวคล้ายนุ่น มีเมล็ดจำนวนมาก
เมล็ด : มีขนสีขาว เป็นมัน ช่วยการกระจายพันธุ์โดยปลิวไปตามลม
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด หรือ การปักชำ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
ลำปาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
พิธีกรรม
-
เปลือกต้นใช้เข้ายาบำรุงกำลัง ช่วยแก้มะเร็ง เมล็ดใช้เป็นยาแก้ปากคอเปื่อย เมล็ดและยางมีสรรพคุณช่วยแก้ปวดฟัน และยางยังใช้ผสมกับน้ำผึ้ง เป็นยารักษาโรคที่ปาก เอาสำลีชุลอุดฟันที่เป็นรูช่วยแก้ปวดได้ ช่วยแก้โรคในฟัน ช่วยแก้ไข้เรื้อรัง เปลือกรากมีรสเบื่อเมา มีสรรพคุณช่วยแก้โรคไอ เปลือกมีสรรพคุณช่วยขับเหงื่อ ทำให้อาเจียน ตำรับยาพื้นบ้านอีสานจะใช้ลำต้นหรือรากรักใหญ่ ผสมกับลำต้นหรือรากมะค่าโมง นำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้อาเจียนเป็นเลือด เปลือกต้นใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้บิด ท้องร่วง
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
-
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช