ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ลำต้นเปลา โคนต้นอาจมีพูพอนบ้าง เปลือกสีน้ำตาลคล้ำ เรียบ เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างทึบ ใบ เป็นช่อ ติดเรียงสลับ ยาว 20-30 ซม. ใบย่อยรูปขอบขนาน แกมรูปไข่กลับ ติดตรงข้าม 1-3 คู่ กว้าง 3-8 ซม. ยาว 10-20 ซม. โคนใบมน และเบี้ยว เนื้อใบหนา หลังใบเกลี้ยงเป็นมัน ท้องใบสีจาง ขอบใบเรียบ ดอก ขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว ออกรวมกันเป็นช่อโต ๆ ตามปลายกิ่ง ทุกส่วนของช่อมีขนสีเทาทั่วไป โคนกลีบรองดอกติดกันเป็นรูปถ้วยปากกว้าง ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขนนุ่มทั้งสองด้าน กลีบดอกไม่มี เกสรผู้มี 5 อัน รังไข่กลม มีขนปกคลุม ผล รูปรีหรือค่อนข้างกลม โต วัดผ่าศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. ยาว 2.5-3 ซม. ผิวขรุขระเป็นปมเล็ก ๆ กระจายทั่วไป ผลอ่อนสีเขียว พอแก่จัดออกสีแดงเข้มแต่ละผลมีเมล็ดเดียว มีเนื้อเยื่อใส ๆ และน้ำหุ้มเมล็ด
-
เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ลำต้นเปลา โคนต้นอาจมีพูพอนบ้าง เปลือกสีน้ำตาลคล้ำ เรียบ เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างทึบ ใบ เป็นช่อ ติดเรียงสลับ ยาว 20-30 ซม. ใบย่อยรูปขอบขนาน แกมรูปไข่กลับ ติดตรงข้าม 1-3 คู่ กว้าง 3-8 ซม. ยาว 10-20 ซม. โคนใบมน และเบี้ยว เนื้อใบหนา หลังใบเกลี้ยงเป็นมัน ท้องใบสีจาง ขอบใบเรียบ ดอก ขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว ออกรวมกันเป็นช่อโต ๆ ตามปลายกิ่ง ทุกส่วนของช่อมีขนสีเทาทั่วไป โคนกลีบรองดอกติดกันเป็นรูปถ้วยปากกว้าง ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขนนุ่มทั้งสองด้าน กลีบดอกไม่มี เกสรผู้มี 5 อัน รังไข่กลม มีขนปกคลุม ผล รูปรีหรือค่อนข้างกลม โต วัดผ่าศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. ยาว 2.5-3 ซม. ผิวขรุขระเป็นปมเล็ก ๆ กระจายทั่วไป ผลอ่อนสีเขียว พอแก่จัดออกสีแดงเข้มแต่ละผลมีเมล็ดเดียว มีเนื้อเยื่อใส ๆ และน้ำหุ้มเมล็ด
-
ต้น: ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง 10-30 เมตร ไม้ผลัดใบ เรือนยอดพุ่มกลม ใบ: ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงเวียน มีใบย่อย 3-5 คู่ เรียงตรงข้ามกัน ใบย่อยรูปขอบขนานหรือรูปหอก ปลายใบย่อยแหลม ฐานใบย่อยเบี้ยว ขอบเรียบหรือเป็นคลื่น ท้องใบสีเขียวนวล ผิวใบเกลี้ยง ดอก: ช่อดอกแบบแยกแขนงเกิดที่ปลายกิ่ง ดอกสีขาวอมเขียว กลีบเลี้ยงรูปถ้วยปลายแยกเป็น 5 แฉก ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 5 อัน รังไข่ 1 ช่อง ผล: ผลสุกสีแดง เปลือกผลแยกจากเนื้อเมล็ด เปลือก: เปลือกนอกสีน้ำตาลเทา เปลือกเรียบหรือแตกแบบสะเก็ด เปลือกในสีน้ำตาลแดง ผิวเปลือกในสีเขียวชัด
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นพรรณไม้ป่าดงดิบ และพบขึ้นตามป่าเบญจพรรณชื้นบ้าง ตามที่ใกล้แหล่งน้ำที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 100-800 เมตร ในภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศ
-
เป็นพรรณไม้ป่าดงดิบ และพบขึ้นตามป่าเบญจพรรณชื้นบ้าง ตามที่ใกล้แหล่งน้ำที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 100-800 เมตร ในภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงโขงหลง
-
บริเวณจุดผ่อนปรนไทย-ลาว อำเภอสองแคว
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาปะช้าง-แหลมขาม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่ากราด
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขานัน
-
อุทยานแห่งชาติ เขานัน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
-
อุทยานแห่งชาติ ทะเลบัน
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพลิ้ว
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
น่าน
-
เชียงใหม่
-
สุราษฎร์ธานี
-
สงขลา
-
สงขลา
-
สงขลา
-
จันทบุรี
-
สงขลา
-
นครราชสีมา
-
อุตรดิตถ์
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
-
เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
ระยอง, จันทบุรี
-
ระยอง, จันทบุรี
-
นครศรีธรรมราช
-
นครศรีธรรมราช
-
พัทลุง
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
จันทบุรี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สตูล
-
สตูล
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
จันทบุรี
-
ตาก
-
นครศรีธรรมราช
-
สระแก้ว
-
อุบลราชธานี
-
มุกดาหาร
-
เลย
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
สุโขทัย
-
สงขลา
-
กาญจนบุรี
-
นครศรีธรรมราช
-
นครศรีธรรมราช
-
ชลบุรี
-
ชลบุรี
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
กระบี่, ตรัง
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
ชุมพร, ระนอง
-
ลพบุรี
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สตูล, สงขลา
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ชัยภูมิ
-
ศรีสะเกษ
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
บึงกาฬ
-
กาฬสินธุ์
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
เชียงใหม่
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ตาก
-
ยะลา, นราธิวาส
-
ลำปาง
-
หนองคาย
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สุรินทร์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ลำต้นเปลา โคนต้นอาจมีพูพอนบ้าง เปลือกสีน้ำตาลคล้ำ เรียบ เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างทึบ ใบ เป็นช่อ ติดเรียงสลับ ยาว 20-30 ซม. ใบย่อยรูปขอบขนาน แกมรูปไข่กลับ ติดตรงข้าม 1-3 คู่ กว้าง 3-8 ซม. ยาว 10-20 ซม. โคนใบมน และเบี้ยว เนื้อใบหนา หลังใบเกลี้ยงเป็นมัน ท้องใบสีจาง ขอบใบเรียบ ดอก ขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว ออกรวมกันเป็นช่อโต ๆ ตามปลายกิ่ง ทุกส่วนของช่อมีขนสีเทาทั่วไป โคนกลีบรองดอกติดกันเป็นรูปถ้วยปากกว้าง ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขนนุ่มทั้งสองด้าน กลีบดอกไม่มี เกสรผู้มี 5 อัน รังไข่กลม มีขนปกคลุม ผล รูปรีหรือค่อนข้างกลม โต วัดผ่าศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. ยาว 2.5-3 ซม. ผิวขรุขระเป็นปมเล็ก ๆ กระจายทั่วไป ผลอ่อนสีเขียว พอแก่จัดออกสีแดงเข้มแต่ละผลมีเมล็ดเดียว มีเนื้อเยื่อใส ๆ และน้ำหุ้มเมล็ด
-
เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ลำต้นเปลา โคนต้นอาจมีพูพอนบ้าง เปลือกสีน้ำตาลคล้ำ เรียบ เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างทึบ ใบ เป็นช่อ ติดเรียงสลับ ยาว 20-30 ซม. ใบย่อยรูปขอบขนาน แกมรูปไข่กลับ ติดตรงข้าม 1-3 คู่ กว้าง 3-8 ซม. ยาว 10-20 ซม. โคนใบมน และเบี้ยว เนื้อใบหนา หลังใบเกลี้ยงเป็นมัน ท้องใบสีจาง ขอบใบเรียบ ดอก ขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว ออกรวมกันเป็นช่อโต ๆ ตามปลายกิ่ง ทุกส่วนของช่อมีขนสีเทาทั่วไป โคนกลีบรองดอกติดกันเป็นรูปถ้วยปากกว้าง ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขนนุ่มทั้งสองด้าน กลีบดอกไม่มี เกสรผู้มี 5 อัน รังไข่กลม มีขนปกคลุม ผล รูปรีหรือค่อนข้างกลม โต วัดผ่าศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. ยาว 2.5-3 ซม. ผิวขรุขระเป็นปมเล็ก ๆ กระจายทั่วไป ผลอ่อนสีเขียว พอแก่จัดออกสีแดงเข้มแต่ละผลมีเมล็ดเดียว มีเนื้อเยื่อใส ๆ และน้ำหุ้มเมล็ด
-
เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ลำต้นเปลา โคนต้นอาจมีพูพอนบ้าง เปลือกสีน้ำตาลคล้ำ เรียบ เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างทึบ ใบ เป็นช่อ ติดเรียงสลับ ยาว 20-30 ซม. ใบย่อยรูปขอบขนาน แกมรูปไข่กลับ ติดตรงข้าม 1-3 คู่ กว้าง 3-8 ซม. ยาว 10-20 ซม. โคนใบมน และเบี้ยว เนื้อใบหนา หลังใบเกลี้ยงเป็นมัน ท้องใบสีจาง ขอบใบเรียบ ดอก ขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว ออกรวมกันเป็นช่อโต ๆ ตามปลายกิ่ง ทุกส่วนของช่อมีขนสีเทาทั่วไป โคนกลีบรองดอกติดกันเป็นรูปถ้วยปากกว้าง ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขนนุ่มทั้งสองด้าน กลีบดอกไม่มี เกสรผู้มี 5 อัน รังไข่กลม มีขนปกคลุม ผล รูปรีหรือค่อนข้างกลม โต วัดผ่าศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. ยาว 2.5-3 ซม. ผิวขรุขระเป็นปมเล็ก ๆ กระจายทั่วไป ผลอ่อนสีเขียว พอแก่จัดออกสีแดงเข้มแต่ละผลมีเมล็ดเดียว มีเนื้อเยื่อใส ๆ และน้ำหุ้มเมล็ด
-
เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ลำต้นเปลา โคนต้นอาจมีพูพอนบ้าง เปลือกสีน้ำตาลคล้ำ เรียบ เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างทึบ ใบ เป็นช่อ ติดเรียงสลับ ยาว 20-30 ซม. ใบย่อยรูปขอบขนาน แกมรูปไข่กลับ ติดตรงข้าม 1-3 คู่ กว้าง 3-8 ซม. ยาว 10-20 ซม. โคนใบมน และเบี้ยว เนื้อใบหนา หลังใบเกลี้ยงเป็นมัน ท้องใบสีจาง ขอบใบเรียบ ดอก ขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว ออกรวมกันเป็นช่อโต ๆ ตามปลายกิ่ง ทุกส่วนของช่อมีขนสีเทาทั่วไป โคนกลีบรองดอกติดกันเป็นรูปถ้วยปากกว้าง ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขนนุ่มทั้งสองด้าน กลีบดอกไม่มี เกสรผู้มี 5 อัน รังไข่กลม มีขนปกคลุม ผล รูปรีหรือค่อนข้างกลม โต วัดผ่าศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. ยาว 2.5-3 ซม. ผิวขรุขระเป็นปมเล็ก ๆ กระจายทั่วไป ผลอ่อนสีเขียว พอแก่จัดออกสีแดงเข้มแต่ละผลมีเมล็ดเดียว มีเนื้อเยื่อใส ๆ และน้ำหุ้มเมล็ด
-
เป็นไม้ต้นขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ลำต้นเปลา โคนต้นอาจมีพูพอนบ้าง เปลือกสีน้ำตาลคล้ำ เรียบ เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างทึบ ใบ เป็นช่อ ติดเรียงสลับ ยาว 20-30 ซม. ใบย่อยรูปขอบขนาน แกมรูปไข่กลับ ติดตรงข้าม 1-3 คู่ กว้าง 3-8 ซม. ยาว 10-20 ซม. โคนใบมน และเบี้ยว เนื้อใบหนา หลังใบเกลี้ยงเป็นมัน ท้องใบสีจาง ขอบใบเรียบ ดอก ขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว ออกรวมกันเป็นช่อโต ๆ ตามปลายกิ่ง ทุกส่วนของช่อมีขนสีเทาทั่วไป โคนกลีบรองดอกติดกันเป็นรูปถ้วยปากกว้าง ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขนนุ่มทั้งสองด้าน กลีบดอกไม่มี เกสรผู้มี 5 อัน รังไข่กลม มีขนปกคลุม ผล รูปรีหรือค่อนข้างกลม โต วัดผ่าศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. ยาว 2.5-3 ซม. ผิวขรุขระเป็นปมเล็ก ๆ กระจายทั่วไป ผลอ่อนสีเขียว พอแก่จัดออกสีแดงเข้มแต่ละผลมีเมล็ดเดียว มีเนื้อเยื่อใส ๆ และน้ำหุ้มเมล็ด
-
ไม้ต้น
การขยายพันธุ์ :
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
ระบบนิเวศ :
-
พบทั่วไปในป่าดิบแล้งและอาจมีขึ้นตามป่าผสมผลัดใบชื้นบ้าง พบขึ้นตามบริเวณใกล้แหล่งน้ำที่มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 100-800 เมตร
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เนื้อไม้สีแดงหรือน้ำตาลแดง เนื้อละเอียด เหนียวแข็ง ใช้ทำเครื่องใช้ทางการเกษตร เช่น หัวหมูและคันไถ ด้ามเครื่องมือ ผลแก่ใช้รับประทานเป็นผลไม้ รสเปรี้ยวอมหวาน
-
ทานเหมือนผลไม้ ผลของบักแงว หรือ ผลของลิ้นจี่ป่า มีรสเปรี้ยวอมหวาน จึงช่วยทำให้ชุ่มคอ แก้ไอ และใช้เป็นยาระบายท้อง ช่วยในการย่อยอาหารได้ และมีสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันในร่างกาย และควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
หนังสือ พรรณไม้มีคุณค่าจากป่าสาธารณะประโยชน์ บ้านทำนบ, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
คู่มือพันธ์ุไม้ท้องถิ่น ตำบลแม่กิ๊ก อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |