ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
- ไม้ต้น
- กระโดน เป็นพืชในวงศ์จิก ลักษณะเป็นไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 30 เมตร ใบออกเรียงเวียน รูปไข่กลับกว้าง ยาว 20-30 เซนติเมตร ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะที่ปลายกิ่ง ดอกไม่มีก้าน มีใบประดับ 3 ใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เชื่อมติดกันประมาณกึ่งหนึ่ง ยาว 2-2.5 เซนติเมตร กลีบดอกรูปขอบขนาน สีขาวอมเขียวขอบสีชมพู
- กระโดน เป็นพืชในวงศ์จิก ลักษณะเป็นไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 30 เมตร ใบออกเรียงเวียน รูปไข่กลับกว้าง ยาว 20-30 เซนติเมตร ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะที่ปลายกิ่ง ดอกไม่มีก้าน มีใบประดับ 3 ใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เชื่อมติดกันประมาณกึ่งหนึ่ง ยาว 2-2.5 เซนติเมตร กลีบดอกรูปขอบขนาน สีขาวอมเขียวขอบสีชมพู
- กระโดน เป็นพืชในวงศ์จิก ลักษณะเป็นไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 30 เมตร ใบออกเรียงเวียน รูปไข่กลับกว้าง ยาว 20-30 เซนติเมตร ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะที่ปลายกิ่ง ดอกไม่มีก้าน มีใบประดับ 3 ใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เชื่อมติดกันประมาณกึ่งหนึ่ง ยาว 2-2.5 เซนติเมตร กลีบดอกรูปขอบขนาน สีขาวอมเขียวขอบสีชมพู
- กระโดน เป็นพืชในวงศ์จิก ลักษณะเป็นไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 30 เมตร ใบออกเรียงเวียน รูปไข่กลับกว้าง ยาว 20-30 เซนติเมตร ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะที่ปลายกิ่ง ดอกไม่มีก้าน มีใบประดับ 3 ใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เชื่อมติดกันประมาณกึ่งหนึ่ง ยาว 2-2.5 เซนติเมตร กลีบดอกรูปขอบขนาน สีขาวอมเขียวขอบสีชมพู
- ใบ - ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับเวียนเป็นกลุ่มตามปลายกิ่ง ลักษณะของใบเป็นรูปไข่กลับ ปลายใบมนและมีติ่งแหลมยื่น โคนใบสอบเรียว ส่วนขอบใบเป็นหยักเล็กน้อยตลอดทั้งขอบใบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 15-25 เซนติเมตร และยาวประมาณ 30-35 เซนติเมตร ผิวใบทั้งสองด้านมีลักษณะเกลี้ยง เนื้อใบหนาและค่อนข้างนิ่ม มีเส้นแขนงใบอยู่ประมาณข้างละ 8-15 เส้น เส้นใบย่อยเป็นแบบร่างแห เห็นได้ชัดเจนทางด้านล่าง ก้านใบอวบเกลี้ยงและมีความยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร ในหน้าแล้งใบแก่ท้องใบจะเป็นสีแดงและจะทิ้งใบเมื่อออกใบอ่อน ยอดอ่อนของใบเป็นสีน้ำตาลแดง ใบก่อนร่วงเป็นสีแดง
ดอก - ดอกมีขนาดใหญ่ ออกดอกเป็นช่อแบบกระจะตามปลายกิ่งที่ไม่มีใบ สั้นมาก ในแต่ละช่อมีดอกประมาณ 2-6 ดอก ลักษณะของดอกคล้ายเป็นดอกเดี่ยว มีกลีบดอก 5 กลีบ แต่ละกลีบดอกยาวประมาณ 1-5 นิ้ว ลักษณะของกลีบดอกเป็นรูปขอบขนาน แยกกัน ขอบกลีบและปลายกลีบเป็นสีเขียวอ่อน ส่วนโคนกลีบเป็นสีชมพู โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ร่วงได้ง่าย โดยดอกจะบานในเวลากลางคืนและมักจะร่วงในช่วงเช้า ดอกมีเกสรเพศผู้สีขาวจำนวนมากยาวประมาณ 4-5 เซนติเมตร ก้านเกสรยาวเรียงตัวกันแน่นเป็นพู่ โคนก้านเกสรเชื่อมติดกันเป็นวงสีแดงอ่อนๆ โดยเกสรที่สมบูรณ์จะอยู่ข้างใน ฐานดอกมีลักษณะเป็นรูปวงแหวน ขอบนูนขึ้น ส่วนเกสรเพศเมียมีรังไข่ใต้วงกลีบ ลักษณะเป็นรูปกระสวยกลีบ มี 4 ช่อง ในแต่ละช่องจะมีออวุลจำนวนมาก โดยเกสรเพศเมียจะติดคงทน และก้านเกสรเพศเมียจะยาวประมาณ 4-6 เซนติเมตร ดอกมีใบประดับลักษณะกลมหรือรี 3 ใบ มีกลีบเลี้ยงดอก 4 กลีบแยกจากกัน ยาวประมาณ 8-10 มิลลิเมตร เป็นสีเขียวอ่อน หนาและค่อนข้างมน โดยจะออกดอกในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน
ผล - ผลมีลักษณะกลมหรือเป็นรูปไข่ อวบน้ำ มีเนื้อสีเขียว ค่อนข้างแข็ง ผลมีขนาดกว้างประมาณ 5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 6.5 เซนติเมตร ผิวผลเรียบ เปลือกหนา ที่ปลายผลจะมีกลีบเลี้ยงที่ติดทนอยู่ และมีก้านเกสรเพศเมียติดอยู่ที่ปลายผลด้วย ผลสดเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล
ภายในผลมีเมล็ดจำนวนมากและมีเยื่อหุ้ม เมล็ดเป็นสีน้ำตาลอ่อน ลักษณะของเมล็ดเป็นรูปไข่และแบน มีขนาดกว้างประมาณ 1 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร โดยจะออกผลในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนมิถุนายน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น ผลัดใบ อาจสูงได้ถึง 30 ม. แตกกิ่งต่ำ กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปไข่กลับกว้าง ยาว 20-30 ซม. ขอบจักฟันเลื่อย เส้นแขนงใบเรียงจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบคล้ายเป็นครีบ ยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ตั้งขึ้น ออกที่ปลายกิ่งพร้อมผลิใบอ่อน ใบประดับ 3 ใบ ดอกไร้ก้าน กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เชื่อมติดกันประมาณกึ่งหนึ่ง เรียงซ้อนเหลื่อม ยาว 2-2.5 ซม. ดอกสีขาวอมเขียว ขอบสีชมพู มี 4 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 4-6 ซม. เกสรเพศผู้จำนวนมาก เชื่อมติดกันประมาณ 1 ซม. สีขาวหรืออมแดง วงนอกยาวกว่าวงด้านใน วงในเป็นหมัน ก้านชูอับเรณูยาว 2-4.5 ซม. จานฐานดอกรูปวงแหวน รังไข่ใต้วงกลีบ มี 4-5 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ผลสดมีหลายเมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-8 ซม. ปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดทน เมล็ดจำนวนมาก รูปขอบขนาน แบน ยาวประมาณ 1 ซม.
- ไม้ต้น ผลัดใบ อาจสูงได้ถึง 30 ม. แตกกิ่งต่ำ กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปไข่กลับกว้าง ยาว 20-30 ซม. ขอบจักฟันเลื่อย เส้นแขนงใบเรียงจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบคล้ายเป็นครีบ ยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ตั้งขึ้น ออกที่ปลายกิ่งพร้อมผลิใบอ่อน ใบประดับ 3 ใบ ดอกไร้ก้าน กลีบเลี้ยง 4 กลีบ เชื่อมติดกันประมาณกึ่งหนึ่ง เรียงซ้อนเหลื่อม ยาว 2-2.5 ซม. ดอกสีขาวอมเขียว ขอบสีชมพู มี 4 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 4-6 ซม. เกสรเพศผู้จำนวนมาก เชื่อมติดกันประมาณ 1 ซม. สีขาวหรืออมแดง วงนอกยาวกว่าวงด้านใน วงในเป็นหมัน ก้านชูอับเรณูยาว 2-4.5 ซม. จานฐานดอกรูปวงแหวน รังไข่ใต้วงกลีบ มี 4-5 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ผลสดมีหลายเมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-8 ซม. ปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดทน เมล็ดจำนวนมาก รูปขอบขนาน แบน ยาวประมาณ 1 ซม.
- พืชล้มลุกอายุหลายปี มีเหง้าใต้ดิน สูงถึง ๒ ม. ใบเดี่ยว รูปไข่ แกมรี ยาวได้ถึง ๑ ม. ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกสีส้ม หรือ แดงแกมเหลือง ผลรูปไข่ ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง ๑๐ – ๒๐ ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับ ดอกออกเป็นช่อกระจุก ตามกิ่งก้านและปลายยอด ออกดอก ก่อนจะผลิใบ กลีบดอกสีขาวอมเขียว มีเกสรเพศผู้สีขาวจำนวนมาก ผลรูปทรงกลม ขนาด ๕ – ๖ ซม. ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดมี ๒ พู ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม – ตุลาคม ขยายพันธุ์โดยการแยกหน่อ หรือเพาะเมล็ด
- ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง ลำต้นมักเตี้ยแจ้ มีกิ่งก้านสาขามาก ใบเรียงสลับเวียนกันเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง รูปไข่กลับ ดอกออกเป็นช่อ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ โคนตัดกันเป็นรูประฆัง กลีบดอก 4 กลีบ สีขาว ผลกลม มีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดมีเยื่อหุ้ม
- พืชล้มลุกอายุหลายปี มีเหง้าใต้ดิน สูงถึง ๒ ม. ใบเดี่ยว รูปไข่ แกมรี ยาวได้ถึง ๑ ม. ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกสีส้ม หรือ แดงแกมเหลือง ผลรูปไข่ ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง ๑๐ – ๒๐ ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับ ดอกออกเป็นช่อกระจุก ตามกิ่งก้านและปลายยอด ออกดอก ก่อนจะผลิใบ กลีบดอกสีขาวอมเขียว มีเกสรเพศผู้สีขาวจำนวนมาก ผลรูปทรงกลม ขนาด ๕ – ๖ ซม. ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดมี ๒ พู ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม – ตุลาคม ขยายพันธุ์โดยการแยกหน่อ หรือเพาะเมล็ด
- พืชล้มลุกอายุหลายปี มีเหง้าใต้ดิน สูงถึง ๒ ม. ใบเดี่ยว รูปไข่ แกมรี ยาวได้ถึง ๑ ม. ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกสีส้ม หรือ แดงแกมเหลือง ผลรูปไข่ ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง ๑๐ – ๒๐ ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับ ดอกออกเป็นช่อกระจุก ตามกิ่งก้านและปลายยอด ออกดอก ก่อนจะผลิใบ กลีบดอกสีขาวอมเขียว มีเกสรเพศผู้สีขาวจำนวนมาก ผลรูปทรงกลม ขนาด ๕ – ๖ ซม. ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดมี ๒ พู ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม – ตุลาคม ขยายพันธุ์โดยการแยกหน่อ หรือเพาะเมล็ด
- พืชล้มลุกอายุหลายปี มีเหง้าใต้ดิน สูงถึง ๒ ม. ใบเดี่ยว รูปไข่ แกมรี ยาวได้ถึง ๑ ม. ดอกออกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกสีส้ม หรือ แดงแกมเหลือง ผลรูปไข่ ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง ๑๐ – ๒๐ ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับ ดอกออกเป็นช่อกระจุก ตามกิ่งก้านและปลายยอด ออกดอก ก่อนจะผลิใบ กลีบดอกสีขาวอมเขียว มีเกสรเพศผู้สีขาวจำนวนมาก ผลรูปทรงกลม ขนาด ๕ – ๖ ซม. ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคม ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดมี ๒ พู ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคม – ตุลาคม ขยายพันธุ์โดยการแยกหน่อ หรือเพาะเมล็ด
- ต้นกระโดน จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง มีลักษณะของเรือนยอดเป็นพุ่มกลมแน่นทึบ มีความสูงของต้นประมาณ 10-20 เมตร เปลือกต้นหนาเป็นสีดำหรือสีน้ำตาลดำ แตกล่อนเป็นแผ่น ต้นมีกิ่งก้านสาขามาก ส่วนเนื้อไม้เป็นสีแดงเข้มถึงสีน้ำตาลแกมแดง
ระบบนิเวศ :
- พบในป่าเต็งรัง ป่าชายหาด ป่าดิบและป่าผสมผลัดใบ ความสูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 500 เมตร
- พบในป่าเต็งรัง ป่าชายหาด ป่าดิบและป่าผสมผลัดใบ ความสูงตั้งแต่ใกล้ระดับน้ำทะเลจนถึงประมาณ 500 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
- ถิ่นกำเนิดของต้นกระโดนอยู่ในประเทศอินเดีย ฤดูกาลที่กระโดนเจริญเติบโตประมาณเดือน มีนาคม-เมษายน ซึ่งเป็นฤดูแล้ง พบประปรายตามป่าเบญจพรรณชื้น ป่าโปร่งและป่าทุ่ง
การขยายพันธุ์ :
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เชียงราย
- นครราชสีมา
- อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- เชียงราย
- อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
- กาญจนบุรี
- ราชบุรี
- ลำพูน, ลำปาง
- แม่ฮ่องสอน
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- อุดรธานี, เลย, หนองคาย
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- ขอนแก่น, ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- พะเยา, เชียงราย
- มุกดาหาร
- สกลนคร, กาฬสินธุ์
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
- มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
- เลย
- เชียงราย, พะเยา
- ลำปาง, แพร่
- ลำปาง, ตาก
- เชียงใหม่
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- กาญจนบุรี
- กำแพงเพชร
- ลำพูน, ลำปาง
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- แพร่
- แพร่
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- เลย
- เพชรบูรณ์
- พิษณุโลก
- บึงกาฬ
- กาฬสินธุ์
- กาฬสินธุ์
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- อุบลราชธานี
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- หนองคาย
- ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
- พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
- อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
- อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
- อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติไทยประจัน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
- อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
- อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
- อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
- อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
- อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
- สุรินทร์
- ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร,สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,ยอดอ่อน รับประทานได้
- ดอกมีรสสุขุม ช่วยบำรุงร่างกาย ดอกใช้เป็นยาบำรุงกำลัง บำรุงร่างกายหลังการ คลอดบุตรของสตรี ผลมีรสจืดเย็น ช่วยบำรุงหลังการคลอดบุตรของสตรี ส่วนดอกและ น้ำจากเปลือกสด หากนำมาผสมกับน้ำผึ้งก็เป็นยาบำรุงหลังคลอดได้เช่นกัน ดอกช่วยแก้ อาการหวัด หรือจะใช้ดอกและน้ำจากเปลือกสดผสมกับน้ำผึ้งกินเป็นยาแก้หวัดก็ได้ ดอกช่วยแก้อาการไอ ช่วยทำให้ชุ่มคอ หรือจะใช้ดอกและน้ำจากเปลือกสดผสมกับน้ำผึ้ง กินเป็นยาแก้ไอก็ได้ ผลมีรสจืดเย็น ช่วยในการย่อยอาหาร เปลือกต้นนำมาแช่กับน้ำดื่ม เป็นยาแก้อาการปวดท้อง ท้องเสีย ช่วยแก้โรคกระเพาะอาหาร เปลือกต้นใช้เป็นยาสมานแผล ภายใน กระโดนจัดอยู่ในตำรับยาแก้โรคริดสีดวงทวาร ซึ่งในตำรับยาประกอบไปด้วย กระโดนโคก 1 ส่วน, ต้นกล้วยน้อย 1 ส่วน, ขันทองพยาบาท 1 ส่วน, ต้นซองแมว 1 ส่วน ต้นคอแลน 1 ส่วน, เงี่ยงคุกน้อย 1 ส่วน, กำแพงเจ็ดชั้น 1 ส่วน, ต้นมอนแก้ว 1 ส่วน มอยแม่หม้าย 1 ส่วน, เล็บแมวแดง 1 ส่วน, ตากวาง 1 ส่วน โดยนำทั้งหมดมาต้ม เป็นยากิน
ที่มาของข้อมูล