ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นผลัดใบ ลำต้นเปลาตรง สูง 8-15 ม. เปลือกเรียบ ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับที่ปลายกิ่ง รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 8-10 ซม. ยาว 15-18 ซม. ก้านใบยาว 2.5 ซม. ดอกสีเหลืองถึงสีแสด ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง แกนช่อยาว 5-13 ซม. มีขนทั่วไป ดอกย่อยกลีบรองดอกรูปกรววย ก้านดอกยาว 0.2-0.3 ซม. ปลายแยก 5 แฉก ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้จำนวน 10 อัน ผลสีน้ำตาลรูปกระสวยโค้ง กว้าง 2.5-3.5 ซม. ยาว 7-8 ซม. ผลแก่จะแตกมีเมล็ดสีดำ รูปรี จำนวน 4-6 เมล็ด
-
ไม้ต้นผลัดใบ ลำต้นเปลาตรง สูง 8-15 ม. เปลือกเรียบ ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับที่ปลายกิ่ง รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 8-10 ซม. ยาว 15-18 ซม. ก้านใบยาว 2.5 ซม. ดอกสีเหลืองถึงสีแสด ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง แกนช่อยาว 5-13 ซม. มีขนทั่วไป ดอกย่อยกลีบรองดอกรูปกรววย ก้านดอกยาว 0.2-0.3 ซม. ปลายแยก 5 แฉก ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้จำนวน 10 อัน ผลสีน้ำตาลรูปกระสวยโค้ง กว้าง 2.5-3.5 ซม. ยาว 7-8 ซม. ผลแก่จะแตกมีเมล็ดสีดำ รูปรี จำนวน 4-6 เมล็ด
-
ไม้ต้นผลัดใบ ลำต้น: เปลาตรง สูง 8-15 ม. เปลือกต้น: เรียบ ใบ: เป็นใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับที่ปลายกิ่ง รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 8-10 ซม. ยาว 15-18 ซม. ก้านใบยาว 2.5 ซม.ดอก: ดอกสีเหลืองถึงสีแสด ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง แกนช่อยาว 5-13 ซม. มีขนทั่วไป ดอกย่อยกลีบรองดอกรูปกรววย ก้านดอกยาว 0.2-0.3 ซม. ปลายแยก 5 แฉก ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้จำนวน 10 อัน ผล: สีน้ำตาลรูปกระสวยโค้ง กว้าง 2.5-3.5 ซม. ยาว 7-8 ซม. ผลแก่จะแตกมีเมล็ดสีดำ รูปรี จำนวน 4-6 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดีย ศรีลังกา ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบตามป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 100-500 ม.
-
จากอินเดีย ศรีลังกา ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบตามป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูง 100-500 ม.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แพร่,น่าน
-
เชียงใหม่
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
สงขลา
-
ลำปาง
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
สงขลา
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
อุบลราชธานี
-
เชียงราย
-
จันทบุรี
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
ระยอง
-
กำแพงเพชร
-
พะเยา
-
ชัยภูมิ
-
จันทบุรี
-
ชัยภูมิ
-
อุบลราชธานี
-
ขอนแก่น
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
เลย
-
เชียงราย, พะเยา
-
ลำปาง, แพร่
-
ลำปาง, ตาก
-
เชียงใหม่
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
กำแพงเพชร
-
สุราษฎร์ธานี
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สตูล, สงขลา
-
สตูล, สงขลา
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
ชัยภูมิ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
อุทยานแห่งชาติสามร้อยยอด
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่ากราด
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพลิ้ว
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 5-20 ม. กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดงหนาแน่น หูใบคล้ายรยางค์ ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 10-30 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว แผ่นใบมีขนหนาแน่น เส้นแขนงใบเรียงจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกโค้งลง ยาว 10-20 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 0.7-1 ซม. แฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง ปลายเชื่อมติดกันด้วยขน เกสรเพศผู้ 10 อัน อับเรณูไร้ก้าน ก้านเกสรเพศเมียเชื่อมติดกัน มีขนหนาแน่น มี 2-5 ผลย่อย รูปขอบขนาน ยาว 5-9 ซม. มีขนสั้นสีน้ำตาลดำหนาแน่น มี 3-6 เมล็ด รูปรี ยาว 1-1.5 ซม. สีดำ
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 5-20 ม. กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดงหนาแน่น หูใบคล้ายรยางค์ ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 10-30 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว แผ่นใบมีขนหนาแน่น เส้นแขนงใบเรียงจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกโค้งลง ยาว 10-20 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 0.7-1 ซม. แฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง ปลายเชื่อมติดกันด้วยขน เกสรเพศผู้ 10 อัน อับเรณูไร้ก้าน ก้านเกสรเพศเมียเชื่อมติดกัน มีขนหนาแน่น มี 2-5 ผลย่อย รูปขอบขนาน ยาว 5-9 ซม. มีขนสั้นสีน้ำตาลดำหนาแน่น มี 3-6 เมล็ด รูปรี ยาว 1-1.5 ซม. สีดำ
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 5-20 ม. กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดงหนาแน่น หูใบคล้ายรยางค์ ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 10-30 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว แผ่นใบมีขนหนาแน่น เส้นแขนงใบเรียงจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกโค้งลง ยาว 10-20 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 0.7-1 ซม. แฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง ปลายเชื่อมติดกันด้วยขน เกสรเพศผู้ 10 อัน อับเรณูไร้ก้าน ก้านเกสรเพศเมียเชื่อมติดกัน มีขนหนาแน่น มี 2-5 ผลย่อย รูปขอบขนาน ยาว 5-9 ซม. มีขนสั้นสีน้ำตาลดำหนาแน่น มี 3-6 เมล็ด รูปรี ยาว 1-1.5 ซม. สีดำ
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 5-20 ม. กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดงหนาแน่น หูใบคล้ายรยางค์ ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 10-30 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว แผ่นใบมีขนหนาแน่น เส้นแขนงใบเรียงจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกโค้งลง ยาว 10-20 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 0.7-1 ซม. แฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง ปลายเชื่อมติดกันด้วยขน เกสรเพศผู้ 10 อัน อับเรณูไร้ก้าน ก้านเกสรเพศเมียเชื่อมติดกัน มีขนหนาแน่น มี 2-5 ผลย่อย รูปขอบขนาน ยาว 5-9 ซม. มีขนสั้นสีน้ำตาลดำหนาแน่น มี 3-6 เมล็ด รูปรี ยาว 1-1.5 ซม. สีดำ
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 5-20 ม. กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลแดงหนาแน่น หูใบคล้ายรยางค์ ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 10-30 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว แผ่นใบมีขนหนาแน่น เส้นแขนงใบเรียงจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกโค้งลง ยาว 10-20 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว 0.7-1 ซม. แฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง ปลายเชื่อมติดกันด้วยขน เกสรเพศผู้ 10 อัน อับเรณูไร้ก้าน ก้านเกสรเพศเมียเชื่อมติดกัน มีขนหนาแน่น มี 2-5 ผลย่อย รูปขอบขนาน ยาว 5-9 ซม. มีขนสั้นสีน้ำตาลดำหนาแน่น มี 3-6 เมล็ด รูปรี ยาว 1-1.5 ซม. สีดำ
-
ไม้ต้น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ที่อยู่อาศัย,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช