ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-15 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้าง กว้าง 7-23 ซม. ยาว 10-28 ซม. ดอกขนาดเล็ก แยกเพศ ดอกเพศผู้มีขนละเอียด กลีบเลี้ยง 2-3 มม. กลีบดอกยาว 3-5 มม. ดอกเพศเมียมีขนยาวนุ่มปกคลุมรังไข่และก้านเกสรเพศเมีย ผลทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม. มีกลีบเลี้ยงติดทน ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-15 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้าง กว้าง 7-23 ซม. ยาว 10-28 ซม. ดอกขนาดเล็ก แยกเพศ ดอกเพศผู้มีขนละเอียด กลีบเลี้ยง 2-3 มม. กลีบดอกยาว 3-5 มม. ดอกเพศเมียมีขนยาวนุ่มปกคลุมรังไข่และก้านเกสรเพศเมีย ผลทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม. มีกลีบเลี้ยงติดทน ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-15 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้าง กว้าง 7-23 ซม. ยาว 10-28 ซม. ดอกขนาดเล็ก แยกเพศ ดอกเพศผู้มีขนละเอียด กลีบเลี้ยง 2-3 มม. กลีบดอกยาว 3-5 มม. ดอกเพศเมียมีขนยาวนุ่มปกคลุมรังไข่และก้านเกสรเพศเมีย ผลทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม. มีกลีบเลี้ยงติดทน ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-15 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้าง กว้าง 7-23 ซม. ยาว 10-28 ซม. ดอกขนาดเล็ก แยกเพศ ดอกเพศผู้มีขนละเอียด กลีบเลี้ยง 2-3 มม. กลีบดอกยาว 3-5 มม. ดอกเพศเมียมีขนยาวนุ่มปกคลุมรังไข่และก้านเกสรเพศเมีย ผลทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม. มีกลีบเลี้ยงติดทน ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปรีหรือรูปไข่กว้าง ยาว 10-28 ซม. ปลายมน โคนกลมหรือเว้าตื้น เส้นใบย่อยแบบร่างแหชัดเจน ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจำนวนอย่างละ 4 กลีบ ดอกเพศผู้ออกเป็นช่อกระจุกสั้นๆ ก้านดอกยาวประมาณ 3 มม. กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 2-3 มม. แฉกลึกประมาณหนึ่งส่วนสาม มีขนด้านนอก ดอกรูปคนโท ยาว 3-5 มม. แฉกลึก เกสรเพศผู้มี 20-30 อัน รังไข่ที่ไม่เจริญมีขนยาว ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ กลีบเลี้ยงแฉกลึก ด้านนอกมีขน รังไข่มีขนคล้ายขนแกะ มี 6 ช่อง ไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ผลเกือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปรี แฉกลึก พับงอกลับ ก้านผลยาวประมาณ 1 ซม. เอนโดสเปิร์มมีลาย
การกระจายพันธุ์ :
-
-
-
-
-
-
-
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ผาแต้ม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
แพร่,น่าน
-
พะเยา,น่าน
-
เชียงใหม่
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
นครราชสีมา
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
กำแพงเพชร
-
กำแพงเพชร
-
กำแพงเพชร, ตาก
-
ลำปาง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชัยภูมิ
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
ชัยภูมิ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
ลำปาง, แพร่
-
ลำปาง, ตาก
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
สุโขทัย
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชลบุรี
-
กำแพงเพชร
-
เชียงใหม่
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ชัยภูมิ
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
กาฬสินธุ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
กาญจนบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ลำปาง
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มีความสูงของต้นประมาณ 10-15 เมตร ทรงพุ่มโปร่งเป็นรูปกรวย เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลปนเทาหรือสีเทาอมขาว ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีน้ำตาลอมแดง ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด มีเขตการกระจายพันธุ์เฉพาะในพม่าและภูมิภาคอินโดจีน (ลาวและกัมพูชา) ส่วนในประเทศไทยพบได้แทบทุกภาค ยกเว้นทางภาคใต้ โดยมักขึ้นตามป่าเต็งรังและตามป่าเบญจพรรณแล้งทั่วไป ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-500 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกัน ลักษณะของใบเป็นรูปขอบขนาน รูปไข่กว้าง หรือรูปไข่ถึงรูปวงรี ปลายใบกลมหรือมน โคนใบกลมหรือคล้ายรูปหัวใจ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 7-23 เซนติเมตร และยาวประมาณ 10-28 เซนติเมตร เนื้อใบเกลี้ยงและหนา ผิวใบด้านล่างมีขนหรือเกือบเกลี้ยง เส้นแขนงใบมีประมาณ 6-12 คู่ เห็นเส้นใบย่อยแบบร่างแหชัดเจน ก้านใบยาวประมาณ 1 เซนติเมตร และมีขนสั้นนุ่ม ส่วนใบอ่อนเป็นสีน้ำตาลแดง ดอกเป็นแบบแยกเพศ อยู่กันคนละต้น ดอกเพศผู้จะออกดอกเป็นช่อหรือออกเป็นกระจุกสั้น ๆ ตามกิ่งเหนือง่ามใบ ช่อหนึ่งมักมีดอกประมาณ 3 ดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4 กลีบ กลีบดอกเป็นรูปไข่หรือรูปคนโท ยาวประมาณ 0.3-0.5 เซนติเมตร ปลายแฉกลึกประมาณ 1/3 ส่วน กลีบเลี้ยงเป็นรูประฆัง ยาวประมาณ 0.2-0.3 เซนติเมตร กลีบแฉกลึกประมาณ 1/3 มีขนด้านนอก โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย เกสรเพศผู้มีประมาณ 20-30 อัน รังไข่ที่ไม่เจริญมีขนยาว ก้านดอกยาวประมาณ 0.3 เซนติเมตร ส่วนดอกเพศเมียจะออกเป็นดอกเดี่ยวหรือออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ช่อละ 3-5 ดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4 กลีบ มีลักษณะคล้ายดอกเพศผู้ แต่จะมีขนาดใหญ่กว่า กลีบเลี้ยงแฉกลึกเกือบจรดโคน รังไข่ทรงรี มีขนคล้ายขนแกะ มี 6 ช่อง ไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ส่วนกลีบดอกเป็นสีขาว ลักษณะเป็นรูปคนโท ด้านนอกมีขน ส่วนด้านในเรียบ ก้านดอกยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ออกดอกในช่วงประมาณเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม ผลเป็นผลสด ลักษณะของผลเป็นรูปไข่ รูปเกือบกลม หรือรูปกลมป้อม ผลมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร มีกลีบเลี้ยงติดคงทน มีขนด้านดอก ปลายกลีบแฉกเกินกึ่งหนึ่งเกือบจรดโคน กลีบพับงอเล็กน้อย มีก้านผลยาวประมาณ 1 เซนติเมตร เอนโดสเปิร์มมีลาย เมื่อแก่แห้งเป็นสีดำและไม่แตก ผลจะแก่ในช่วงประมาณเดือนมิถุนายนถึงกันยายน
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มีความสูงของต้นประมาณ 10-15 เมตร ทรงพุ่มโปร่งเป็นรูปกรวย เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลปนเทาหรือสีเทาอมขาว ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีน้ำตาลอมแดง ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด มีเขตการกระจายพันธุ์เฉพาะในพม่าและภูมิภาคอินโดจีน (ลาวและกัมพูชา) ส่วนในประเทศไทยพบได้แทบทุกภาค ยกเว้นทางภาคใต้ โดยมักขึ้นตามป่าเต็งรังและตามป่าเบญจพรรณแล้งทั่วไป ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-500 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกัน ลักษณะของใบเป็นรูปขอบขนาน รูปไข่กว้าง หรือรูปไข่ถึงรูปวงรี ปลายใบกลมหรือมน โคนใบกลมหรือคล้ายรูปหัวใจ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 7-23 เซนติเมตร และยาวประมาณ 10-28 เซนติเมตร เนื้อใบเกลี้ยงและหนา ผิวใบด้านล่างมีขนหรือเกือบเกลี้ยง เส้นแขนงใบมีประมาณ 6-12 คู่ เห็นเส้นใบย่อยแบบร่างแหชัดเจน ก้านใบยาวประมาณ 1 เซนติเมตร และมีขนสั้นนุ่ม ส่วนใบอ่อนเป็นสีน้ำตาลแดง ดอกเป็นแบบแยกเพศ อยู่กันคนละต้น ดอกเพศผู้จะออกดอกเป็นช่อหรือออกเป็นกระจุกสั้น ๆ ตามกิ่งเหนือง่ามใบ ช่อหนึ่งมักมีดอกประมาณ 3 ดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4 กลีบ กลีบดอกเป็นรูปไข่หรือรูปคนโท ยาวประมาณ 0.3-0.5 เซนติเมตร ปลายแฉกลึกประมาณ 1/3 ส่วน กลีบเลี้ยงเป็นรูประฆัง ยาวประมาณ 0.2-0.3 เซนติเมตร กลีบแฉกลึกประมาณ 1/3 มีขนด้านนอก โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย เกสรเพศผู้มีประมาณ 20-30 อัน รังไข่ที่ไม่เจริญมีขนยาว ก้านดอกยาวประมาณ 0.3 เซนติเมตร ส่วนดอกเพศเมียจะออกเป็นดอกเดี่ยวหรือออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ช่อละ 3-5 ดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4 กลีบ มีลักษณะคล้ายดอกเพศผู้ แต่จะมีขนาดใหญ่กว่า กลีบเลี้ยงแฉกลึกเกือบจรดโคน รังไข่ทรงรี มีขนคล้ายขนแกะ มี 6 ช่อง ไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ส่วนกลีบดอกเป็นสีขาว ลักษณะเป็นรูปคนโท ด้านนอกมีขน ส่วนด้านในเรียบ ก้านดอกยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ออกดอกในช่วงประมาณเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม ผลเป็นผลสด ลักษณะของผลเป็นรูปไข่ รูปเกือบกลม หรือรูปกลมป้อม ผลมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร มีกลีบเลี้ยงติดคงทน มีขนด้านดอก ปลายกลีบแฉกเกินกึ่งหนึ่งเกือบจรดโคน กลีบพับงอเล็กน้อย มีก้านผลยาวประมาณ 1 เซนติเมตร เอนโดสเปิร์มมีลาย เมื่อแก่แห้งเป็นสีดำและไม่แตก ผลจะแก่ในช่วงประมาณเดือนมิถุนายนถึงกันยายน
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มีความสูงของต้นประมาณ 10-15 เมตร ทรงพุ่มโปร่งเป็นรูปกรวย เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลปนเทาหรือสีเทาอมขาว ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีน้ำตาลอมแดง ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด มีเขตการกระจายพันธุ์เฉพาะในพม่าและภูมิภาคอินโดจีน (ลาวและกัมพูชา) ส่วนในประเทศไทยพบได้แทบทุกภาค ยกเว้นทางภาคใต้ โดยมักขึ้นตามป่าเต็งรังและตามป่าเบญจพรรณแล้งทั่วไป ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-500 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกัน ลักษณะของใบเป็นรูปขอบขนาน รูปไข่กว้าง หรือรูปไข่ถึงรูปวงรี ปลายใบกลมหรือมน โคนใบกลมหรือคล้ายรูปหัวใจ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 7-23 เซนติเมตร และยาวประมาณ 10-28 เซนติเมตร เนื้อใบเกลี้ยงและหนา ผิวใบด้านล่างมีขนหรือเกือบเกลี้ยง เส้นแขนงใบมีประมาณ 6-12 คู่ เห็นเส้นใบย่อยแบบร่างแหชัดเจน ก้านใบยาวประมาณ 1 เซนติเมตร และมีขนสั้นนุ่ม ส่วนใบอ่อนเป็นสีน้ำตาลแดง ดอกเป็นแบบแยกเพศ อยู่กันคนละต้น ดอกเพศผู้จะออกดอกเป็นช่อหรือออกเป็นกระจุกสั้น ๆ ตามกิ่งเหนือง่ามใบ ช่อหนึ่งมักมีดอกประมาณ 3 ดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4 กลีบ กลีบดอกเป็นรูปไข่หรือรูปคนโท ยาวประมาณ 0.3-0.5 เซนติเมตร ปลายแฉกลึกประมาณ 1/3 ส่วน กลีบเลี้ยงเป็นรูประฆัง ยาวประมาณ 0.2-0.3 เซนติเมตร กลีบแฉกลึกประมาณ 1/3 มีขนด้านนอก โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย เกสรเพศผู้มีประมาณ 20-30 อัน รังไข่ที่ไม่เจริญมีขนยาว ก้านดอกยาวประมาณ 0.3 เซนติเมตร ส่วนดอกเพศเมียจะออกเป็นดอกเดี่ยวหรือออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ช่อละ 3-5 ดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4 กลีบ มีลักษณะคล้ายดอกเพศผู้ แต่จะมีขนาดใหญ่กว่า กลีบเลี้ยงแฉกลึกเกือบจรดโคน รังไข่ทรงรี มีขนคล้ายขนแกะ มี 6 ช่อง ไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ส่วนกลีบดอกเป็นสีขาว ลักษณะเป็นรูปคนโท ด้านนอกมีขน ส่วนด้านในเรียบ ก้านดอกยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ออกดอกในช่วงประมาณเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม ผลเป็นผลสด ลักษณะของผลเป็นรูปไข่ รูปเกือบกลม หรือรูปกลมป้อม ผลมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร มีกลีบเลี้ยงติดคงทน มีขนด้านดอก ปลายกลีบแฉกเกินกึ่งหนึ่งเกือบจรดโคน กลีบพับงอเล็กน้อย มีก้านผลยาวประมาณ 1 เซนติเมตร เอนโดสเปิร์มมีลาย เมื่อแก่แห้งเป็นสีดำและไม่แตก ผลจะแก่ในช่วงประมาณเดือนมิถุนายนถึงกันยายน
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มีความสูงของต้นประมาณ 10-15 เมตร ทรงพุ่มโปร่งเป็นรูปกรวย เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลปนเทาหรือสีเทาอมขาว ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีน้ำตาลอมแดง ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด มีเขตการกระจายพันธุ์เฉพาะในพม่าและภูมิภาคอินโดจีน (ลาวและกัมพูชา) ส่วนในประเทศไทยพบได้แทบทุกภาค ยกเว้นทางภาคใต้ โดยมักขึ้นตามป่าเต็งรังและตามป่าเบญจพรรณแล้งทั่วไป ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-500 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกัน ลักษณะของใบเป็นรูปขอบขนาน รูปไข่กว้าง หรือรูปไข่ถึงรูปวงรี ปลายใบกลมหรือมน โคนใบกลมหรือคล้ายรูปหัวใจ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 7-23 เซนติเมตร และยาวประมาณ 10-28 เซนติเมตร เนื้อใบเกลี้ยงและหนา ผิวใบด้านล่างมีขนหรือเกือบเกลี้ยง เส้นแขนงใบมีประมาณ 6-12 คู่ เห็นเส้นใบย่อยแบบร่างแหชัดเจน ก้านใบยาวประมาณ 1 เซนติเมตร และมีขนสั้นนุ่ม ส่วนใบอ่อนเป็นสีน้ำตาลแดง ดอกเป็นแบบแยกเพศ อยู่กันคนละต้น ดอกเพศผู้จะออกดอกเป็นช่อหรือออกเป็นกระจุกสั้น ๆ ตามกิ่งเหนือง่ามใบ ช่อหนึ่งมักมีดอกประมาณ 3 ดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4 กลีบ กลีบดอกเป็นรูปไข่หรือรูปคนโท ยาวประมาณ 0.3-0.5 เซนติเมตร ปลายแฉกลึกประมาณ 1/3 ส่วน กลีบเลี้ยงเป็นรูประฆัง ยาวประมาณ 0.2-0.3 เซนติเมตร กลีบแฉกลึกประมาณ 1/3 มีขนด้านนอก โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย เกสรเพศผู้มีประมาณ 20-30 อัน รังไข่ที่ไม่เจริญมีขนยาว ก้านดอกยาวประมาณ 0.3 เซนติเมตร ส่วนดอกเพศเมียจะออกเป็นดอกเดี่ยวหรือออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ช่อละ 3-5 ดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4 กลีบ มีลักษณะคล้ายดอกเพศผู้ แต่จะมีขนาดใหญ่กว่า กลีบเลี้ยงแฉกลึกเกือบจรดโคน รังไข่ทรงรี มีขนคล้ายขนแกะ มี 6 ช่อง ไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ส่วนกลีบดอกเป็นสีขาว ลักษณะเป็นรูปคนโท ด้านนอกมีขน ส่วนด้านในเรียบ ก้านดอกยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ออกดอกในช่วงประมาณเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม ผลเป็นผลสด ลักษณะของผลเป็นรูปไข่ รูปเกือบกลม หรือรูปกลมป้อม ผลมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร มีกลีบเลี้ยงติดคงทน มีขนด้านดอก ปลายกลีบแฉกเกินกึ่งหนึ่งเกือบจรดโคน กลีบพับงอเล็กน้อย มีก้านผลยาวประมาณ 1 เซนติเมตร เอนโดสเปิร์มมีลาย เมื่อแก่แห้งเป็นสีดำและไม่แตก ผลจะแก่ในช่วงประมาณเดือนมิถุนายนถึงกันยายน
-
จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มีความสูงของต้นประมาณ 10-15 เมตร ทรงพุ่มโปร่งเป็นรูปกรวย เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลปนเทาหรือสีเทาอมขาว ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีน้ำตาลอมแดง ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ด มีเขตการกระจายพันธุ์เฉพาะในพม่าและภูมิภาคอินโดจีน (ลาวและกัมพูชา) ส่วนในประเทศไทยพบได้แทบทุกภาค ยกเว้นทางภาคใต้ โดยมักขึ้นตามป่าเต็งรังและตามป่าเบญจพรรณแล้งทั่วไป ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 100-500 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกัน ลักษณะของใบเป็นรูปขอบขนาน รูปไข่กว้าง หรือรูปไข่ถึงรูปวงรี ปลายใบกลมหรือมน โคนใบกลมหรือคล้ายรูปหัวใจ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 7-23 เซนติเมตร และยาวประมาณ 10-28 เซนติเมตร เนื้อใบเกลี้ยงและหนา ผิวใบด้านล่างมีขนหรือเกือบเกลี้ยง เส้นแขนงใบมีประมาณ 6-12 คู่ เห็นเส้นใบย่อยแบบร่างแหชัดเจน ก้านใบยาวประมาณ 1 เซนติเมตร และมีขนสั้นนุ่ม ส่วนใบอ่อนเป็นสีน้ำตาลแดง ดอกเป็นแบบแยกเพศ อยู่กันคนละต้น ดอกเพศผู้จะออกดอกเป็นช่อหรือออกเป็นกระจุกสั้น ๆ ตามกิ่งเหนือง่ามใบ ช่อหนึ่งมักมีดอกประมาณ 3 ดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4 กลีบ กลีบดอกเป็นรูปไข่หรือรูปคนโท ยาวประมาณ 0.3-0.5 เซนติเมตร ปลายแฉกลึกประมาณ 1/3 ส่วน กลีบเลี้ยงเป็นรูประฆัง ยาวประมาณ 0.2-0.3 เซนติเมตร กลีบแฉกลึกประมาณ 1/3 มีขนด้านนอก โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย เกสรเพศผู้มีประมาณ 20-30 อัน รังไข่ที่ไม่เจริญมีขนยาว ก้านดอกยาวประมาณ 0.3 เซนติเมตร ส่วนดอกเพศเมียจะออกเป็นดอกเดี่ยวหรือออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ช่อละ 3-5 ดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีอย่างละ 4 กลีบ มีลักษณะคล้ายดอกเพศผู้ แต่จะมีขนาดใหญ่กว่า กลีบเลี้ยงแฉกลึกเกือบจรดโคน รังไข่ทรงรี มีขนคล้ายขนแกะ มี 6 ช่อง ไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ส่วนกลีบดอกเป็นสีขาว ลักษณะเป็นรูปคนโท ด้านนอกมีขน ส่วนด้านในเรียบ ก้านดอกยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ออกดอกในช่วงประมาณเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม ผลเป็นผลสด ลักษณะของผลเป็นรูปไข่ รูปเกือบกลม หรือรูปกลมป้อม ผลมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5-2.5 เซนติเมตร มีกลีบเลี้ยงติดคงทน มีขนด้านดอก ปลายกลีบแฉกเกินกึ่งหนึ่งเกือบจรดโคน กลีบพับงอเล็กน้อย มีก้านผลยาวประมาณ 1 เซนติเมตร เอนโดสเปิร์มมีลาย เมื่อแก่แห้งเป็นสีดำและไม่แตก ผลจะแก่ในช่วงประมาณเดือนมิถุนายนถึงกันยายน
-
ไม้ต้น
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ความสูง 100-500 เมตร
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,ทำเฟอร์นิเจอร์ แก่นและรากต้มหรือฝนกินใช้เป็นยาแก้ไข้
-
ตำรับยาไทยมักใช้ร่วมกับตับเต่าน้อย แก่นและรากใช้ต้มหรือฝนกินเป็นยาแก้ไข้ ลดไข้ ดับพิษร้อน แก้ร้อนใน แก้พิษไข้ แก้พิษทั้งปวง แก่นและรากมีรสฝาดเอียนเล็กน้อย ใช้เป็นยาแก้วัณโรค ด้วยการนำมาต้มกับน้ำกิน เปลือกใช้เป็นยารักษาโรครำมะนาด น้ำต้มจากแก่นและรากมีสรรพคุณเป็นยาบำรุงปอด ตำรับยาพื้นบ้านจะใช้เปลือกต้น ผสมกับลำต้นเฉียงพร้านางแอ และลำต้นหนามแท่ง นำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ผิดสำแดง รากตับเต่า ต้นใช้ผสมกับรากโคลงเคลงขน และหญ้าชันกาดทั้งต้น นำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้อาเจียนเป็นเลือดและถ่ายเป็นเลือด เปลือกใช้ปรุงเป็นยาแก้ท้องร่วง ตำรับยาพื้นบ้านล้านนาจะใช้เปลือกต้นตับเต่าต้น ผสมกับรากขี้เหล็ก รากสลอด และรากหญ้าเรงชอน นำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยารักษาโรคทางเดินปัสสาวะ ใช้แก่นตับเต่าต้น 2 กำมือ นำมาต้มให้สตรีหลังคลอด ดื่มวันละ 3-4 ครั้ง ตลอดช่วงที่อยู่ไฟเป็นยาบำรุงเลือด เปลือกต้นและใบตับเต่าต้นใช้ผสมกับลำต้นตับเต่าเครือ ใบหรือรากกล้วยเต่า และผักบุ้งร้วมทั้งต้น นำมาบดให้เป็นผงละเอียด ละลายกับน้ำร้อนดื่มเป็นยารักษาโรคมะเร็งในตับ รากใช้ปรุงเป็นยารักษาแผลเรื้อรัง
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
-
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |