ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นสูง 10-20 ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงแบบเวียน ยาว 10-15 ซม. มีใบย่อย 10-13 ใบ เรียงสลับ ใบย่อยรูปไข่หรือรูปรี กว้าง 1-2 ซม. ยาว 2-4 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงออกที่ซอกใบ ยาว 4-5 ซม. ดอกสีขาว กลีบกลางรูปกลับไข่กว้างหรือคล้ายรูปไต กลีบคู่ข้างรูปรี กลีบคู่ล่างรูปช้อน ฝักรูปรี หรือขอบขนาน กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 6-10 ซม. ออกดอกเดือน ก.พ.-เม.ย.
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบเรือนยอดเป็นพุ่มกลมยาว ค่อนข้างโปร่ง เปลือกสีเทานวล เรียบหรือแตกเป็นสะเก็ดตื้นๆ กิ่งอ่อนมีขน ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลับมีใบย่อย 7-13 ใบ เรียงสลบ รูปไข่กลับหรือรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ส่วนกว้างที่สุดอยู่ค่อนไปทางปลายใบซึ่งมนและเว้าตรงกลางเล็กน้อย โคนสอบมน ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกตามง่ามใบใกล้ยอด มีดอกดกดูคล้ายเป็นกระจุก ดอกรูปดอกถั่ว กลีบเลี้ยงเล็ก ติดกันคล้ายรูปถ้วยตื้น ๆ กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวอมชมพู กลีบคู่ล่างติดกัน ฝักแบนรูปคล้ายกระสวย ปลายและโคนมน มักมีติ่งแหลมสั้นๆ ที่ปลาย ฝักตรงหรือโค้งงอเล็กน้อย ตามผนังมีลายร่างแหชัดเจน ฝักแก่ไม่แตก เมล็ดสีน้ำตาล คล้ายรูปไต ส่วนมากมีเพียงเมล็ดเดียว ที่มี 2-3 เมล็ดพบน้อยมาก
- ไม้ต้นสูง 10-20 ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงแบบเวียน ยาว 10-15 ซม. มีใบย่อย 10-13 ใบ เรียงสลับ ใบย่อยรูปไข่หรือรูปรี กว้าง 1-2 ซม. ยาว 2-4 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงออกที่ซอกใบ ยาว 4-5 ซม. ดอกสีขาว กลีบกลางรูปกลับไข่กว้างหรือคล้ายรูปไต กลีบคู่ข้างรูปรี กลีบคู่ล่างรูปช้อน ฝักรูปรี หรือขอบขนาน กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 6-10 ซม. ออกดอกเดือน ก.พ.-เม.ย.
- ไม้ต้นสูง 10-20 ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงแบบเวียน ยาว 10-15 ซม. มีใบย่อย 10-13 ใบ เรียงสลับ ใบย่อยรูปไข่หรือรูปรี กว้าง 1-2 ซม. ยาว 2-4 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงออกที่ซอกใบ ยาว 4-5 ซม. ดอกสีขาว กลีบกลางรูปกลับไข่กว้างหรือคล้ายรูปไต กลีบคู่ข้างรูปรี กลีบคู่ล่างรูปช้อน ฝักรูปรี หรือขอบขนาน กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 6-10 ซม. ออกดอกเดือน ก.พ.-เม.ย.
- ไม้ต้นสูง 10-20 ม. ใบประกอบแบบขนนก เรียงแบบเวียน ยาว 10-15 ซม. มีใบย่อย 10-13 ใบ เรียงสลับ ใบย่อยรูปไข่หรือรูปรี กว้าง 1-2 ซม. ยาว 2-4 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงออกที่ซอกใบ ยาว 4-5 ซม. ดอกสีขาว กลีบกลางรูปกลับไข่กว้างหรือคล้ายรูปไต กลีบคู่ข้างรูปรี กลีบคู่ล่างรูปช้อน ฝักรูปรี หรือขอบขนาน กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 6-10 ซม. ออกดอกเดือน ก.พ.-เม.ย.
- ลำต้น: ไม้ต้นผลัดใบขนาดกลางถึงใหญ่ ความสูง 10-25 ม. กิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนทั่วไป เปลือกต้น: เปลือกค่อนข้างเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด เปลือกนอกสีเทาอ่อนหรือสีนวล ๆ เปลือกในสีแดง ใบ: ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ ช่อใบยาว 10-15 ซม. แต่ละใบมีใบย่อย 7-11 ใบ ใบและใบย่อยเรียงสลับ ใบย่อยรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ปลายใบย่อยกลมหรือเว้าบุ๋ม ส่วนกว้างสุดของใบย่อยจะค่อนไปทางปลายใบ ฐานใบย่อยมนหรือกลม ใบย่อยสีเขียวเข้ม ขอบใบมักม้วนเข้าหาเส้นกลางใบเล็กน้อยทางด้านท้องใบ ใบแห้งจะมีสีน้ำตาล ดอก: ช่อดอกแบบแยกแขนง เกิดตามกระจุกง่ามใบใกล้ยอด ดอกขนาดเล็ก กลีบดอกรูปถั่ว ดอกสีขาว ผล: ฝักแบบถัว เมื่อแก่จะแห้งไม่แตก ฝักแก่จะมีสีน้ำตาล รูปขอบขนาน กว้าง 1-2 ซม. ยาว 5-10 ซม. ปลายฝักกลม แต่ละฝักมีเมล็ด 1-3 เมล็ด เปลือกของฝักบริเวณที่มีเมล็ด มีเส้นแขนงแบบตาข่ายชัดเจน อื่น ๆ : ทรงพุ่มกลมทึบ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- แพร่,น่าน
- พะเยา,น่าน
- เชียงใหม่
- พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- เชียงราย
- ลำปาง
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- นครราชสีมา
- นครราชสีมา
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- เชียงราย
- เชียงราย
- เพชรบูรณ์
- กาญจนบุรี
- กำแพงเพชร
- กำแพงเพชร
- กำแพงเพชร, ตาก
- ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำปาง, ลำพูน
- พะเยา
- พะเยา
- ตาก
- ตาก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- อุดรธานี, เลย, หนองคาย
- อุดรธานี, เลย, หนองคาย
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- ชัยภูมิ
- เลย
- เลย
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- สกลนคร, กาฬสินธุ์
- เลย
- เลย
- เชียงราย, พะเยา
- เชียงราย, พะเยา
- ลำปาง, ตาก
- เชียงใหม่
- สุโขทัย
- สุโขทัย
- ตาก
- ตาก
- กาญจนบุรี
- น่าน
- น่าน
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- ชลบุรี
- กำแพงเพชร
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- พะเยา, น่าน
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- แพร่
- แพร่
- แพร่
- แพร่
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- เลย
- เลย
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- พิษณุโลก
- บึงกาฬ
- บึงกาฬ
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- พะเยา
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ลำปาง
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
- อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
- อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
- อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
- อุทยานแห่งชาติ ศรีน่าน
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การกระจายพันธุ์ :
- กระพี้เขาควายเป็นพรรณไม้ในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรัง ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-500 เมตร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ต้น ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบสูง 15 - 25 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมยาว ค่อนข้างโปร่ง เปลือกสีเทานวลๆ เปลือกในสีน้ำตาลแดง กระพี้สีน้ำตาลอ่อน กิ่งอ่อนยอดอ่อนมีขน
ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ยาว 10 - 15 ซม. มีใบย่อย รูปขอบขนานแกมไข่กลับ กว้าง 2 - 2.5 ซม. ยาว 6 – 7.5 ซม. ส่วนกว้างที่สุดค่อนไปทางปลายใบมนโค้งหยักเว้าเห็น ได้ชัด โดนฐานใบสอบเข้าเป็นรูปลิ่มหรือมนกลม เนื้อใบค่อนข้างหนา ใบแก่เกลี้ยง
ดอก ออกเป็นช่อ มีลักษณะเป็นกระจุกคล้ายรังผึ้งสีขาวอมชมพูอ่อนๆ ออกที่กิ่งข้างตาและปลายยอด ฐาน กลีบดอกเชื่อมติดกันรูปถ้วยกลีบดอกบานแล้วขอบกลีบดอกม้วนขึ้น มีลักษณะคล้ายปากนก
ผล เป็นฝักแบนขอบขนานปลาย และโคนบนกว้าง 2 ซม. ยาว 5 – 10 ซม. โค้งงอเล็กน้อย แต่ละฝักมี 1 – 3 เมล็ด ฝักแก่เดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม
- ต้น ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบสูง 15 - 25 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมยาว ค่อนข้างโปร่ง เปลือกสีเทานวลๆ เปลือกในสีน้ำตาลแดง กระพี้สีน้ำตาลอ่อน กิ่งอ่อนยอดอ่อนมีขน
ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ยาว 10 - 15 ซม. มีใบย่อย รูปขอบขนานแกมไข่กลับ กว้าง 2 - 2.5 ซม. ยาว 6 – 7.5 ซม. ส่วนกว้างที่สุดค่อนไปทางปลายใบมนโค้งหยักเว้าเห็น ได้ชัด โดนฐานใบสอบเข้าเป็นรูปลิ่มหรือมนกลม เนื้อใบค่อนข้างหนา ใบแก่เกลี้ยง
ดอก ออกเป็นช่อ มีลักษณะเป็นกระจุกคล้ายรังผึ้งสีขาวอมชมพูอ่อนๆ ออกที่กิ่งข้างตาและปลายยอด ฐาน กลีบดอกเชื่อมติดกันรูปถ้วยกลีบดอกบานแล้วขอบกลีบดอกม้วนขึ้น มีลักษณะคล้ายปากนก
ผล เป็นฝักแบนขอบขนานปลาย และโคนบนกว้าง 2 ซม. ยาว 5 – 10 ซม. โค้งงอเล็กน้อย แต่ละฝักมี 1 – 3 เมล็ด ฝักแก่เดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม
- ต้น ไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบสูง 15 - 25 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มกลมยาว ค่อนข้างโปร่ง เปลือกสีเทานวลๆ เปลือกในสีน้ำตาลแดง กระพี้สีน้ำตาลอ่อน กิ่งอ่อนยอดอ่อนมีขน
ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ยาว 10 - 15 ซม. มีใบย่อย รูปขอบขนานแกมไข่กลับ กว้าง 2 - 2.5 ซม. ยาว 6 – 7.5 ซม. ส่วนกว้างที่สุดค่อนไปทางปลายใบมนโค้งหยักเว้าเห็น ได้ชัด โดนฐานใบสอบเข้าเป็นรูปลิ่มหรือมนกลม เนื้อใบค่อนข้างหนา ใบแก่เกลี้ยง
ดอก ออกเป็นช่อ มีลักษณะเป็นกระจุกคล้ายรังผึ้งสีขาวอมชมพูอ่อนๆ ออกที่กิ่งข้างตาและปลายยอด ฐาน กลีบดอกเชื่อมติดกันรูปถ้วยกลีบดอกบานแล้วขอบกลีบดอกม้วนขึ้น มีลักษณะคล้ายปากนก
ผล เป็นฝักแบนขอบขนานปลาย และโคนบนกว้าง 2 ซม. ยาว 5 – 10 ซม. โค้งงอเล็กน้อย แต่ละฝักมี 1 – 3 เมล็ด ฝักแก่เดือนพฤษภาคม – กรกฎาคม
- ไม้ต้น
การขยายพันธุ์ :
- โดยการใช้เมล็ด
- โดยการใช้เมล็ด
- โดยการใช้เมล็ด
ระบบนิเวศ :
- พบขึ้นทั่วไปในป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางไม่เกิน 1,000 ม.
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,เนื้อไม้แข็งมาก ทนทาน เลื่อยไสกบตบแต่งค่อนข้างยาก แต่ขัดมันได้ดี เนื้อไม้สวยงาม ทำเครื่องเรือนต่างๆ ที่ต้องการความสวยงาม เครื่องประดับบ้านชั้นสูง เครื่องกลึง แกะสลัก ด้ามเครื่องมือ เช่น ปืน ฆ้อน ขวาน หอก มีด คันซอ ไม้ถือ พานท้ายปืน เสา บุผนัง ส่วนประกอบของเกวียน เพลา ใบพัดเรือ กระสวย กลอง โทน จะเข้ ขลุ่ย รางและลูกระนาด กรับ ฆ้องวง ตัวแคน ลักษณะคล้ายไม้สาธรซึ่งใช้แทนกันได้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2012)
ที่มาของข้อมูล
ข้อมูลสภานภาพ CITES

CITES โลก

- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2019-11-26)

- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2017-01-02)

CITES ไทย

- บัญชีหมายเลข II