ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-20 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับแกมรูปใบหอกกลับ กว้าง 7-11 ซม. ยาว 18-28 ซม. ช่อดอกเป็นช่อกระจะสั้น ออกที่ปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอมเขียวอ่อน กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ รูปช้อน เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผลทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7-10 ซม. ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-20 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับแกมรูปใบหอกกลับ กว้าง 7-11 ซม. ยาว 18-28 ซม. ช่อดอกเป็นช่อกระจะสั้น ออกที่ปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอมเขียวอ่อน กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ รูปช้อน เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผลทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7-10 ซม. ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-20 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับแกมรูปใบหอกกลับ กว้าง 7-11 ซม. ยาว 18-28 ซม. ช่อดอกเป็นช่อกระจะสั้น ออกที่ปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอมเขียวอ่อน กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ รูปช้อน เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผลทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7-10 ซม. ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 10-20 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กลับแกมรูปใบหอกกลับ กว้าง 7-11 ซม. ยาว 18-28 ซม. ช่อดอกเป็นช่อกระจะสั้น ออกที่ปลายกิ่ง ดอกสีเหลืองอมเขียวอ่อน กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ รูปช้อน เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผลทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 7-10 ซม. ออกดอกเดือน มี.ค.-เม.ย.
-
ต้นสูง 10-15 เมตร ใบกว้าง 10.7-14.4 เซนติเมตร ยาว 22.4-28.3 เซนติเมตร ผลรูปทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5.7-6.3 เซนติเมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครพนม
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
แพร่,น่าน
-
อุบลราชธานี
-
อำเภอท่าฉาง จังหวัดสุราษฎร์ธานี พื้นที่มีความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 87 เมตร
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
นครศรีธรรมราช
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ราชบุรี
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ลำปาง
-
นนทบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
แม่น้ำสงครามตอนล่าง
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
เป็นไม้ยืนต้นสูง ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปไข่กลับ (obovate) แผ่นใบเรียวถึงฐานใบ ผิวใบเป็นมัน หน้าใบและหลังใบไม่มีขน ขอบใบแบบจักฟันเลื่อยซ้อน (double serrate) ดอกออกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีเขียวอ่อน ขอบกลีบดอกสีชมพู มีอับเรณู (anther) จำนวนมากสีขาวออกเหลืองอ่อน ก้านชูอับเรณู (filament) สีขาว ก้านอับเรณูรอบนอกมีสีชมพูเข้ม ผลรูปทรงกลม ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นทั่วไป
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์ได้ด้วยเมล็ด
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 2
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช