ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 6-10 เมตร กิ่งอ่อนเปราะ ลำต้นเปลา เปลือกสีน้ำตาลอ่อน ลอกออกได้เป็นเส้นยาว ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้าง ผิวใบสากคาย ขอบจัก ใบแก่จะเว้าลึกใกล้โคนใบ ปลายใบแหลม โคนใบมนหรือเว้า ขนาดกว้าง 5-15 ซม. ยาว 7-20 ซม. ก้านใบยาว 4-13 ซม. ดอกแยกเพศและแยกต้น ดอกเพศเมียเป็นช่อลักษณะเป็นก้อนกลมสีแดงแกมเหลือง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-4 ซม. ดอกเพศผู้ออกเป็นแกนช่อ ห้อยลง สีขาว ยาว 4-8 ซม. ผลมีลักษณะเป็นทรงกลมสีแดงสด เมล็ดขนาดเล็กมีจำนวนมาก
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 6-10 เมตร กิ่งอ่อนเปราะ ลำต้นเปลา เปลือกสีน้ำตาลอ่อน ลอกออกได้เป็นเส้นยาว ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้าง ผิวใบสากคาย ขอบจัก ใบแก่จะเว้าลึกใกล้โคนใบ ปลายใบแหลม โคนใบมนหรือเว้า ขนาดกว้าง 5-15 ซม. ยาว 7-20 ซม. ก้านใบยาว 4-13 ซม. ดอกแยกเพศและแยกต้น ดอกเพศเมียเป็นช่อลักษณะเป็นก้อนกลมสีแดงแกมเหลือง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-4 ซม. ดอกเพศผู้ออกเป็นแกนช่อ ห้อยลง สีขาว ยาว 4-8 ซม. ผลมีลักษณะเป็นทรงกลมสีแดงสด เมล็ดขนาดเล็กมีจำนวนมาก
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 6-10 เมตร กิ่งอ่อนเปราะ ลำต้นเปลา เปลือกสีน้ำตาลอ่อน ลอกออกได้เป็นเส้นยาว ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้าง ผิวใบสากคาย ขอบจัก ใบแก่จะเว้าลึกใกล้โคนใบ ปลายใบแหลม โคนใบมนหรือเว้า ขนาดกว้าง 5-15 ซม. ยาว 7-20 ซม. ก้านใบยาว 4-13 ซม. ดอกแยกเพศและแยกต้น ดอกเพศเมียเป็นช่อลักษณะเป็นก้อนกลมสีแดงแกมเหลือง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-4 ซม. ดอกเพศผู้ออกเป็นแกนช่อ ห้อยลง สีขาว ยาว 4-8 ซม. ผลมีลักษณะเป็นทรงกลมสีแดงสด เมล็ดขนาดเล็กมีจำนวนมาก
-
ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 6-10 เมตร กิ่งอ่อนเปราะ ลำต้นเปลา เปลือกสีน้ำตาลอ่อน ลอกออกได้เป็นเส้นยาว ใบเป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้าง ผิวใบสากคาย ขอบจัก ใบแก่จะเว้าลึกใกล้โคนใบ ปลายใบแหลม โคนใบมนหรือเว้า ขนาดกว้าง 5-15 ซม. ยาว 7-20 ซม. ก้านใบยาว 4-13 ซม. ดอกแยกเพศและแยกต้น ดอกเพศเมียเป็นช่อลักษณะเป็นก้อนกลมสีแดงแกมเหลือง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-4 ซม. ดอกเพศผู้ออกเป็นแกนช่อ ห้อยลง สีขาว ยาว 4-8 ซม. ผลมีลักษณะเป็นทรงกลมสีแดงสด เมล็ดขนาดเล็กมีจำนวนมาก
-
ไม้ต้นขนาดกลาง ลำต้น: สูง 6-10 ม. กิ่งอ่อนเปราะ ลำต้นเปลา เปลือกต้น: สีน้ำตาลอ่อน ลอกออกได้เป็นเส้นยาว ใบ: เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้าง ผิวใบสากคาย ขอบจัก ใบแก่จะเว้าลึกใกล้โคนใบ ปลายใบแหลม โคนใบมนหรือเว้า ขนาดกว้าง 5-15 ซม. ยาว 7-20 ซม. ก้านใบยาว 4-13 ซม. ดอก: ดอกแยกเพศและแยกต้น ดอกเพศเมียเป็นช่อลักษณะเป็นก้อนกลมสีแดงแกมเหลือง ขนาดผ่าศูนย์กลาง 2-4 ซม. ดอกเพศผู้ออกเป็นแกนช่อ ห้อยลง สีขาว ยาว 4-8 ซม. ผล: มีลักษณะเป็นทรงกลมสีแดงสด เมล็ดขนาดเล็กมีจำนวนมาก
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีนและญี่ปุ่น ทางตอนเหนือของประเทศพม่าและไทย ชอบขึ้นตามริมน้ำและที่ชื้น ในป่าที่ค่อนข้างโปร่ง ในประเทศไทยพบได้ทั่วไปในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ความสูง 50-800 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีนและญี่ปุ่น ทางตอนเหนือของประเทศพม่าและไทย ชอบขึ้นตามริมน้ำและที่ชื้น ในป่าที่ค่อนข้างโปร่ง ในประเทศไทยพบได้ทั่วไปในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ความสูง 50-800 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีนและญี่ปุ่น ทางตอนเหนือของประเทศพม่าและไทย ชอบขึ้นตามริมน้ำและที่ชื้น ในป่าที่ค่อนข้างโปร่ง ในประเทศไทยพบได้ทั่วไปในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ความสูง 50-800 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีนและญี่ปุ่น ทางตอนเหนือของประเทศพม่าและไทย ชอบขึ้นตามริมน้ำและที่ชื้น ในป่าที่ค่อนข้างโปร่ง ในประเทศไทยพบได้ทั่วไปในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ความสูง 50-800 เมตร จากระดับน้ำทะเล
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำประทุน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำผาท่าพล
-
อุทยานแห่งชาติ พุเตย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
ลำปาง
-
อุทัยธานี
-
พิษณุโลก
-
สุพรรณบุรี
-
เชียงใหม่
-
ลพบุรี
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ตาก
-
ลำปาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น : สูง 12-15 เมตร ยอดอ่อนมีขนสีเทาปกคลุม
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ส่วนใหญ่รูปไข่ถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ด้านหลังใบหยาบ ด้านท้องใบมีขนนุ่มสีเทาปกคลุม
ดอก : ดอกเพศผู้เป็นช่อแบบหางกระรอก ดอกเพศเมียเป็นช่อทรงกลม
ผล : ผลรวม สุกสีส้มแดง
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ส่วนใหญ่รูปไข่ถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ด้านหลังใบหยาบ ด้านท้องใบมีขนนุ่มสีเทาปกคลุม
ดอก : ดอกเพศผู้เป็นช่อแบบหางกระรอก ดอกเพศเมียเป็นช่อทรงกลม
ผล : ผลรวม สุกสีส้มแดง
-
ไม้ต้น : สูง 12-15 เมตร ยอดอ่อนมีขนสีเทาปกคลุม
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ส่วนใหญ่รูปไข่ถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ด้านหลังใบหยาบ ด้านท้องใบมีขนนุ่มสีเทาปกคลุม
ดอก : ดอกเพศผู้เป็นช่อแบบหางกระรอก ดอกเพศเมียเป็นช่อทรงกลม
ผล : ผลรวม สุกสีส้มแดง
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ส่วนใหญ่รูปไข่ถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ด้านหลังใบหยาบ ด้านท้องใบมีขนนุ่มสีเทาปกคลุม
ดอก : ดอกเพศผู้เป็นช่อแบบหางกระรอก ดอกเพศเมียเป็นช่อทรงกลม
ผล : ผลรวม สุกสีส้มแดง
-
ไม้ต้น : สูง 12-15 เมตร ยอดอ่อนมีขนสีเทาปกคลุม
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ส่วนใหญ่รูปไข่ถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ด้านหลังใบหยาบ ด้านท้องใบมีขนนุ่มสีเทาปกคลุม
ดอก : ดอกเพศผู้เป็นช่อแบบหางกระรอก ดอกเพศเมียเป็นช่อทรงกลม
ผล : ผลรวม สุกสีส้มแดง
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ส่วนใหญ่รูปไข่ถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ด้านหลังใบหยาบ ด้านท้องใบมีขนนุ่มสีเทาปกคลุม
ดอก : ดอกเพศผู้เป็นช่อแบบหางกระรอก ดอกเพศเมียเป็นช่อทรงกลม
ผล : ผลรวม สุกสีส้มแดง
-
ไม้ต้น : สูง 12-15 เมตร ยอดอ่อนมีขนสีเทาปกคลุม
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ส่วนใหญ่รูปไข่ถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ด้านหลังใบหยาบ ด้านท้องใบมีขนนุ่มสีเทาปกคลุม
ดอก : ดอกเพศผู้เป็นช่อแบบหางกระรอก ดอกเพศเมียเป็นช่อทรงกลม
ผล : ผลรวม สุกสีส้มแดง
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ส่วนใหญ่รูปไข่ถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ด้านหลังใบหยาบ ด้านท้องใบมีขนนุ่มสีเทาปกคลุม
ดอก : ดอกเพศผู้เป็นช่อแบบหางกระรอก ดอกเพศเมียเป็นช่อทรงกลม
ผล : ผลรวม สุกสีส้มแดง
-
ไม้ต้น : สูง 12-15 เมตร ยอดอ่อนมีขนสีเทาปกคลุม
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ส่วนใหญ่รูปไข่ถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ด้านหลังใบหยาบ ด้านท้องใบมีขนนุ่มสีเทาปกคลุม
ดอก : ดอกเพศผู้เป็นช่อแบบหางกระรอก ดอกเพศเมียเป็นช่อทรงกลม
ผล : ผลรวม สุกสีส้มแดง
ใบ : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ส่วนใหญ่รูปไข่ถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ด้านหลังใบหยาบ ด้านท้องใบมีขนนุ่มสีเทาปกคลุม
ดอก : ดอกเพศผู้เป็นช่อแบบหางกระรอก ดอกเพศเมียเป็นช่อทรงกลม
ผล : ผลรวม สุกสีส้มแดง
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ไม้โตเร็ว ปลูกเพื่อสร้างพื้นที่สีเขียว เปลือกใช้ผลิตกระดาษ ทอผ้าและเส้นใย ใบเป็นอาหารสัตว์ เมล็ดเป็นอาหารของนกและกระรอก น้ำมันเมล็ดใช้สำหรับเครื่องเขิน สบู่
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช