ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูงถึง 10 ม. ใบ ประกอบแบบขนนก ใบย่อย 3-15 ใบ รูปขอบขนานแกมรูปไข่ ถึงรูปใบหอกแกมรูปไข่ กว้าง 1.5-5.0 ซม. ยาว 3.5-11 ซม. ดอก แยกเพศ ออกเป็นช่อ ยาว 7-60 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ กว้าง 0.5-1.0 มม. ยาว 1-2 มม.สีเขียวอ่อน ถึงเขียวแกมแดงหรือม่วง เกสรเพศผู้มี 4 อัน ผล แบบเมล็ดเดียวแข็ง ยาว 4-7 มม.
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูงถึง 10 ม. ใบ ประกอบแบบขนนก ใบย่อย 3-15 ใบ รูปขอบขนานแกมรูปไข่ ถึงรูปใบหอกแกมรูปไข่ กว้าง 1.5-5.0 ซม. ยาว 3.5-11 ซม. ดอก แยกเพศ ออกเป็นช่อ ยาว 7-60 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ กว้าง 0.5-1.0 มม. ยาว 1-2 มม.สีเขียวอ่อน ถึงเขียวแกมแดงหรือม่วง เกสรเพศผู้มี 4 อัน ผล แบบเมล็ดเดียวแข็ง ยาว 4-7 มม.
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูงถึง 10 ม. ใบ ประกอบแบบขนนก ใบย่อย 3-15 ใบ รูปขอบขนานแกมรูปไข่ ถึงรูปใบหอกแกมรูปไข่ กว้าง 1.5-5.0 ซม. ยาว 3.5-11 ซม. ดอก แยกเพศ ออกเป็นช่อ ยาว 7-60 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ กว้าง 0.5-1.0 มม. ยาว 1-2 มม.สีเขียวอ่อน ถึงเขียวแกมแดงหรือม่วง เกสรเพศผู้มี 4 อัน ผล แบบเมล็ดเดียวแข็ง ยาว 4-7 มม.
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูงถึง 10 ม. ใบ ประกอบแบบขนนก ใบย่อย 3-15 ใบ รูปขอบขนานแกมรูปไข่ ถึงรูปใบหอกแกมรูปไข่ กว้าง 1.5-5.0 ซม. ยาว 3.5-11 ซม. ดอก แยกเพศ ออกเป็นช่อ ยาว 7-60 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ กว้าง 0.5-1.0 มม. ยาว 1-2 มม.สีเขียวอ่อน ถึงเขียวแกมแดงหรือม่วง เกสรเพศผู้มี 4 อัน ผล แบบเมล็ดเดียวแข็ง ยาว 4-7 มม.
การกระจายพันธุ์ :
-
ประเทศไทย พบทุกภาค มักพบในพื้นที่ค่อนข้างโล่งในป่าเต็งรัง ที่ระดับต่ำกว่า 450 ม. จากน้ำทะเล
-
ประเทศไทย พบทุกภาค มักพบในพื้นที่ค่อนข้างโล่งในป่าเต็งรัง ที่ระดับต่ำกว่า 450 ม. จากน้ำทะเล
-
ประเทศไทย พบทุกภาค มักพบในพื้นที่ค่อนข้างโล่งในป่าเต็งรัง ที่ระดับต่ำกว่า 450 ม. จากน้ำทะเล
-
ประเทศไทย พบทุกภาค มักพบในพื้นที่ค่อนข้างโล่งในป่าเต็งรัง ที่ระดับต่ำกว่า 450 ม. จากน้ำทะเล
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงโขงหลง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พังงา
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
บึงกาฬ
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช