ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูง 6-12 ม. โคนมีหนาม กิ่งอ่อนมีสีน้ำตาลแดง ถึงสีแดงเข้ม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือไข่กลับ กว้าง 8-15 ซม. ยาว 15-22 ซม. ผิวใบมีขน หูใบรูปสามเหลี่ยม หลุดร่วงง่าย ดอกสีเขียวอ่อนแกมเหลือง ออกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ผลเมล็ดเดียวแข็ง รูปกระสวย มีสันนูนตามยาวและกลีบเลี้ยงติดทนที่ปลายผล ออกดอกเดือน เม.ย.-พ.ค.
-
ไม้ต้น สูง 6-12 ม. โคนมีหนาม กิ่งอ่อนมีสีน้ำตาลแดง ถึงสีแดงเข้ม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือไข่กลับ กว้าง 8-15 ซม. ยาว 15-22 ซม. ผิวใบมีขน หูใบรูปสามเหลี่ยม หลุดร่วงง่าย ดอกสีเขียวอ่อนแกมเหลือง ออกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ผลเมล็ดเดียวแข็ง รูปกระสวย มีสันนูนตามยาวและกลีบเลี้ยงติดทนที่ปลายผล ออกดอกเดือน เม.ย.-พ.ค.
-
ไม้ต้น สูง 6-12 ม. โคนมีหนาม กิ่งอ่อนมีสีน้ำตาลแดง ถึงสีแดงเข้ม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือไข่กลับ กว้าง 8-15 ซม. ยาว 15-22 ซม. ผิวใบมีขน หูใบรูปสามเหลี่ยม หลุดร่วงง่าย ดอกสีเขียวอ่อนแกมเหลือง ออกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ผลเมล็ดเดียวแข็ง รูปกระสวย มีสันนูนตามยาวและกลีบเลี้ยงติดทนที่ปลายผล ออกดอกเดือน เม.ย.-พ.ค.
-
ไม้ต้น สูง 6-12 ม. โคนมีหนาม กิ่งอ่อนมีสีน้ำตาลแดง ถึงสีแดงเข้ม ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือไข่กลับ กว้าง 8-15 ซม. ยาว 15-22 ซม. ผิวใบมีขน หูใบรูปสามเหลี่ยม หลุดร่วงง่าย ดอกสีเขียวอ่อนแกมเหลือง ออกเป็นช่อสั้นที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ผลเมล็ดเดียวแข็ง รูปกระสวย มีสันนูนตามยาวและกลีบเลี้ยงติดทนที่ปลายผล ออกดอกเดือน เม.ย.-พ.ค.
การกระจายพันธุ์ :
-
-
-
-
-
-
-
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
กาญจนบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
ตาก
-
ตาก
-
มุกดาหาร
-
มุกดาหาร
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
กำแพงเพชร
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ตาก
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
มะคังแดง : เป็นไม้ยืนต้น กึ่งไม้พุ่ม ขนาดกลาง สูง 6-12 เมตร ใบดกหนาทึบ ลำต้นและกิ่งก้านสีน้ำตาลแดง มีขนนุ่มๆเหมือนกำมะหยี่สีน้ำตาลแดงปกคลุมทั่วไป โคนต้นและกิ่งมีหนามโดยรอบ หนามขนาดใหญ่ พุ่งตรงออกเป็นระยะ
ใบมะคังแดง : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 8-15 เซนติเมตร ยาว 15-22 เซนติเมตร ผิวใบมีขนทั้งสองด้าน มีหูใบอยู่ระหว่างก้านใบ โคนใบมน หลังใบเรียบ ท้องใบมีขนสีขาวปกคลุม ขอบใบเรียบ ก้านใบมีขนสีขาว มีหูใบเป็นรูปสามเหลี่ยมหลุดร่วงง่าย
ดอกมะคังแดง : ดอกช่อขนาดเล็กออกเป็นช่อสั้น ที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเขียวอ่อน กลีบดอกมี 5 กลีบ โคนกลีบดอกติดกัน กลีบดอกรูปกลม เกสรตัวผู้เป็นเส้นติดกับกลีบดอกวางสับหว่างกลีบดอก
ผลมะคังแดง : ผลสด รูปกระสวย มีสันนูนจำนวน 5-6 สัน ผิวเรียบ ปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่
ใบมะคังแดง : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 8-15 เซนติเมตร ยาว 15-22 เซนติเมตร ผิวใบมีขนทั้งสองด้าน มีหูใบอยู่ระหว่างก้านใบ โคนใบมน หลังใบเรียบ ท้องใบมีขนสีขาวปกคลุม ขอบใบเรียบ ก้านใบมีขนสีขาว มีหูใบเป็นรูปสามเหลี่ยมหลุดร่วงง่าย
ดอกมะคังแดง : ดอกช่อขนาดเล็กออกเป็นช่อสั้น ที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเขียวอ่อน กลีบดอกมี 5 กลีบ โคนกลีบดอกติดกัน กลีบดอกรูปกลม เกสรตัวผู้เป็นเส้นติดกับกลีบดอกวางสับหว่างกลีบดอก
ผลมะคังแดง : ผลสด รูปกระสวย มีสันนูนจำนวน 5-6 สัน ผิวเรียบ ปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่
-
มะคังแดง : เป็นไม้ยืนต้น กึ่งไม้พุ่ม ขนาดกลาง สูง 6-12 เมตร ใบดกหนาทึบ ลำต้นและกิ่งก้านสีน้ำตาลแดง มีขนนุ่มๆเหมือนกำมะหยี่สีน้ำตาลแดงปกคลุมทั่วไป โคนต้นและกิ่งมีหนามโดยรอบ หนามขนาดใหญ่ พุ่งตรงออกเป็นระยะ
ใบมะคังแดง : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 8-15 เซนติเมตร ยาว 15-22 เซนติเมตร ผิวใบมีขนทั้งสองด้าน มีหูใบอยู่ระหว่างก้านใบ โคนใบมน หลังใบเรียบ ท้องใบมีขนสีขาวปกคลุม ขอบใบเรียบ ก้านใบมีขนสีขาว มีหูใบเป็นรูปสามเหลี่ยมหลุดร่วงง่าย
ดอกมะคังแดง : ดอกช่อขนาดเล็กออกเป็นช่อสั้น ที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเขียวอ่อน กลีบดอกมี 5 กลีบ โคนกลีบดอกติดกัน กลีบดอกรูปกลม เกสรตัวผู้เป็นเส้นติดกับกลีบดอกวางสับหว่างกลีบดอก
ผลมะคังแดง : ผลสด รูปกระสวย มีสันนูนจำนวน 5-6 สัน ผิวเรียบ ปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่
ใบมะคังแดง : ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีหรือรูปไข่กลับ กว้าง 8-15 เซนติเมตร ยาว 15-22 เซนติเมตร ผิวใบมีขนทั้งสองด้าน มีหูใบอยู่ระหว่างก้านใบ โคนใบมน หลังใบเรียบ ท้องใบมีขนสีขาวปกคลุม ขอบใบเรียบ ก้านใบมีขนสีขาว มีหูใบเป็นรูปสามเหลี่ยมหลุดร่วงง่าย
ดอกมะคังแดง : ดอกช่อขนาดเล็กออกเป็นช่อสั้น ที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีเขียวอ่อน กลีบดอกมี 5 กลีบ โคนกลีบดอกติดกัน กลีบดอกรูปกลม เกสรตัวผู้เป็นเส้นติดกับกลีบดอกวางสับหว่างกลีบดอก
ผลมะคังแดง : ผลสด รูปกระสวย มีสันนูนจำนวน 5-6 สัน ผิวเรียบ ปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช