ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูงถึง 30 เมตร เปลือกต้นหนา สีน้ำตาลเทา แตกเป็นร่องลึก ลอกหลุดได้ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่ หรือรูปวงรี กว้าง 4-6 เซนติเมตร ยาว 6-15 เซนติเมตร ฐานมน หน้าใบเขียว ท้องใบเหลือบขาวเด่นชัด และมีขนละเอียด มีขนละเอียดด้านล่างสีขาวแกมน้ำตาล ขอบใบเรียบ ปลายใบมนหยักคอดและมีติ่งแหลม เส้นใบข้างตรงและขนานกัน 12-15 คู่ เส้นใบนูนด้านบน ก้านใบยาว 0.7-1 เซนติเมตร มักจะมีต่อมเล็กๆ 2 ต่อม ดอกสีขาว ออกเป็นช่อ ที่ปลายกิ่ง ยาว 20 เซนติเมตร ก้านช่อมีขนสีน้ำตาลอมส้มหนาแน่น กลีบดอกมี 5 กลีบ ยาวเท่ากับกลีบเลี้ยง เกสรตัวผู้ 5-12 อัน มีขนาดไม่เท่ากัน ก้านเกสรตัวเมียติดที่ฐานของรังไข่ ยาวเท่าๆกับเกสรตัวผู้ รังไข่มีขนหนาแน่น เชื่อมกับชั้นกลีบเลี้ยงด้านหนึ่ง ชั้นกลีบเลี้ยง มี 5 กลีบ ไม่เท่ากัน ขนาดประมาณ 0.3-0.4 เซนติเมตร สีขาวปนเหลือง ผลสด กลมรีเหมือนไข่ หรือรูปกระสวย ขนาดประมาณ 3-4 เซนติเมตร มีสีน้ำตาล มีเกล็ดสีเทาปกคลุม ผิวฉ่ำน้ำเนื้อชุ่มบาง ชั้นในมีขนหนาแน่น เมล็ดเดี่ยวโต แข็ง ผลจะแก่ประมาณเดือนมกราคม ถึงกุมภาพันธ์ เนื้อของผลสุกรอบๆเมล็ด มีรสหวานหอม รับประทานได้ เนื้อข้างในเมล็ดรับประทานได้มีรสมันคล้ายถั่ว เมื่อกะเทาะเปลือกหุ้มเมล็ดจะพบเมล็ดข้างในมีปุยสีน้ำตาลคล้ายปุยฝ้ายหุ้มเมล็ดอยู่ กระรอก กระแต ชอบกินเมล็ดใน ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด พบทั่วไปในป่าดิบ ป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ออกดอกช่วงเดือนมกราคมถึงเมษายน
-
ไม้ยืนต้น ขนาดกลาง ไม่ผลัดใบ สูงถึง 30 เมตร เปลือกต้นหนา สีน้ำตาลเทา แตกเป็นร่องลึก ลอกหลุดได้ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่ หรือรูปวงรี กว้าง 4-6 เซนติเมตร ยาว 6-15 เซนติเมตร ฐานมน หน้าใบเขียว ท้องใบเหลือบขาวเด่นชัด และมีขนละเอียด มีขนละเอียดด้านล่างสีขาวแกมน้ำตาล ขอบใบเรียบ ปลายใบมนหยักคอดและมีติ่งแหลม เส้นใบข้างตรงและขนานกัน 12-15 คู่ เส้นใบนูนด้านบน ก้านใบยาว 0.7-1 เซนติเมตร มักจะมีต่อมเล็กๆ 2 ต่อม ดอกสีขาว ออกเป็นช่อ ที่ปลายกิ่ง ยาว 20 เซนติเมตร ก้านช่อมีขนสีน้ำตาลอมส้มหนาแน่น กลีบดอกมี 5 กลีบ ยาวเท่ากับกลีบเลี้ยง เกสรตัวผู้ 5-12 อัน มีขนาดไม่เท่ากัน ก้านเกสรตัวเมียติดที่ฐานของรังไข่ ยาวเท่าๆกับเกสรตัวผู้ รังไข่มีขนหนาแน่น เชื่อมกับชั้นกลีบเลี้ยงด้านหนึ่ง ชั้นกลีบเลี้ยง มี 5 กลีบ ไม่เท่ากัน ขนาดประมาณ 0.3-0.4 เซนติเมตร สีขาวปนเหลือง ผลสด กลมรีเหมือนไข่ หรือรูปกระสวย ขนาดประมาณ 3-4 เซนติเมตร มีสีน้ำตาล มีเกล็ดสีเทาปกคลุม ผิวฉ่ำน้ำเนื้อชุ่มบาง ชั้นในมีขนหนาแน่น เมล็ดเดี่ยวโต แข็ง ผลจะแก่ประมาณเดือนมกราคม ถึงกุมภาพันธ์ เนื้อของผลสุกรอบๆเมล็ด มีรสหวานหอม รับประทานได้ เนื้อข้างในเมล็ดรับประทานได้มีรสมันคล้ายถั่ว เมื่อกะเทาะเปลือกหุ้มเมล็ดจะพบเมล็ดข้างในมีปุยสีน้ำตาลคล้ายปุยฝ้ายหุ้มเมล็ดอยู่ กระรอก กระแต ชอบกินเมล็ดใน ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด พบทั่วไปในป่าดิบ ป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ออกดอกช่วงเดือนมกราคมถึงเมษายน
การขยายพันธุ์ :
-
ทำได้ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด
-
ทำได้ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
จันทบุรี
-
อุบลราชธานี
-
ระยอง, จันทบุรี
-
ระยอง, จันทบุรี
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
ชัยภูมิ
-
อุดรธานี, เลย, หนองคาย
-
อุดรธานี, เลย, หนองคาย
-
สระแก้ว
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
มุกดาหาร
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
ลำพูน, เชียงใหม่
-
ลำปาง, ตาก
-
สุโขทัย
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ศรีสะเกษ
-
พิษณุโลก
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
กาฬสินธุ์
-
อุบลราชธานี
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
-
สุรินทร์
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ตะไคร้
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
-
หนังสือ พรรณไม้มีคุณค่าจากป่าสาธารณะประโยชน์ บ้านทำนบ, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
ทรัพยากรธรรมชาติของคนชายโขง, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช