ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นกขนาดเล็กมาก (15 ซม.) บริเวณหลังไม่มีลายใดๆ ตัวผู้บริเวณกระหม่อมท้ายทอย ตะโพก ขนคลุมโคนขนหางด้านบนสีเขียวแกมเทา ปีกสีน้ำตาลแดงมีลายขีดสีน้ำตาลแดงจากตาไปทางด้านข้างของคอ คอหอยสีดำ ด้านล่างลำตัวสีเหลืองแกมเทาอ่อน ตัวเมียสีจางกว่า
ระบบนิเวศ :
- พบตามทุ่งโล่ง แหล่งกสิกรรม ชุมชน มักเกาะตามกิ่งไม้ กอหญ้า วัชพีช กินข้าวเปลือกธัญพืช เมล็ดหญ้า และเมล็ดวัชพืชต่างๆ เป็นอาหาร
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- นาข้าว
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์เกือบตลอดทั้งปี ทำรังตามกึ่งก้านของต้นไม้ ใช้ใบไม้ ใบหญ้าดอกหญ้า ขนนก และใยมะพร้าวมาทำรัง โดยใช้วัสดุเหล่านี้กองสุมกัน แต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ไข่สีน้ำตาลอ่อน มีลายจุดสีน้ำตาลเข้มทั่วฟองไข่ ใช้เวลาฟักไข่ 11-12 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การกระจายพันธุ์ :
- นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ