ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
-
นกขนาดเล็ก (17 ซม.) หางยาว และเรียวรูปร่างโดยทั่วไปคล้ายคลึงกับพวกนกอีแพรด ตัวผู้ส่วนใหญ่เป็นสีน้ำเงิน ท้ายหอยสีดำลายพาดแคบๆ ผ่านอกสีดำ ตัวเมียลักษณะคล้ายตัวผู้ แต่ไม่มีลายพาดที่คอ และท้ายทอย อกสีออกเทา ด้านบนลำตัวสีน้ำตาลแกมเทา
-
นกเพศผู้ ปากกว้างสีฟ้าเข้ม ท้ายทอยมีหงอน สั้นเป็นสัน ปลาย หัว อก ลำตัวด้านบนและหางสีฟ้าเข้ม อกตอนล่างถึง
กันขาวหงอน หัวตาและแถบคาดอกสีดำ นกเพศเมีย สีซีดกว่าตัวผู้ ลำตัวด้านบนเทาแกน้ำตาล อกเทาไม่มีแถบสีดำคาดอก
กันขาวหงอน หัวตาและแถบคาดอกสีดำ นกเพศเมีย สีซีดกว่าตัวผู้ ลำตัวด้านบนเทาแกน้ำตาล อกเทาไม่มีแถบสีดำคาดอก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ตัวผู้ : ปากกว้างสีฟ้าเข้ม ท้ายทอยมีหงอนดำสั้น หัว อก ลำตัวด้านบน และหางฟ้าเข้ม อกตอนล่างถึงก้นขาว หงอน หัวตา และคาดอกดำ ตัวเมีย : สีหม่นกว่าตัวผู้ลำตัวด้านบนเทาแกมน้ำตาล อกเทาไม่มีแถบคาดอก
ระบบนิเวศ :
-
ป่าดิบ ป่าโปร่ง ป่าชายเลน ช่วงอพยพพบได้หลายสภาพป่า ที่ราบถึงความสูง 1,520 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
-
พบตามป่าโปร่ง และป่าคงดิบต่างๆ อาศัยและหากินตามกิ่งก้านของต้นไม้ในระดับสูงไม่ชอบอยู่นิ่งกับที่ มักจะเคลื่อนไหวจากกิ่งไม้หนึ่งไปยังอีกกิ่งไม้หนึ่ง ด้วยการกระโดดหรือบิน อาหารได้แก่ แมลงต่างๆ โดยการโฉบจับกลางอากาศ
-
ป่าดิบ ป่าโปร่งป่าชายเลน ช่วงอพยพพบได้หลายสภาพป่า
-
ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
สวนยาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
-
เชียงใหม่
-
เลย
-
มุกดาหาร
-
พะเยา
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กระบี่, พะเยา, สุราษฎร์ธานี, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
-
ยะลา,ปัตตานี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน ทำรังด้วยหญ้า เปลือกไม้อัตและเชื่อมเข้าด้วยกันด้วยใยแมงมุม เป็นรูปถ้วยหรือรูปกรวยหงาย ตามกิ่งก้านของต้นไม้หรือพุ่มไม้ ไข่สีขาวแกมสีครีม มีลายดอกดวง และลายจุดสีน้ำตาล ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 12 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ป่าภูหลวง
-
ภูผาเทิบ
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
พรุลานควาย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การกระจายพันธุ์ :
-
นกประจำถิ่น
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 18 Birds of Dry and Semi-Humid Ecosystem, 2550
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
-
กรมป่าไม้
-
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Skin | |||
Skin | |||
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |