ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นกขนาดเล็กมาก (13 ซม.) ปีกมีลายแถบแดง 1-2 แถบไม่เด่นขัด ลำตัวด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียวอ่อน สีข้างสีเขียวแถบน้ำตาล ขนทางด้านล่างสีขาว
- ปากยาว ปากล่างสี่ชมพูหรือส้มปลายดำ คิ้วขาวสีขาวแก้มเหลืองอ่อน แถบตาสีคล้ำ หัวและล้ำตัวด้านบนสีเขียวคล้ำ
แถบปีกแคบยาวสีขาวแกมเหลืองอ่อน หรือน้ำตาลอ่อน บางตัวอาจเห็น 2 แถบ ลำตัวด้านล่างสีขาว อกและข้างอกสีแกมเทา
ระบบนิเวศ :
- พบตามป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบ ป่ารุ่น ป่าชายเลนและสวนผลไม้ มักพบโดดเดี่ยว อาศัยและหากินตามพุ่มไม้ระดับสูง หรือกึ่งก้านของต้นไม้ระดับต่ำ อาหารได้แก่ แมลงและตัวหนอนต่างๆ
- ป่าดิบค่อนข้างโปร่ง ป่าโปร่ง ชายป่า ป่าชายเลน สวนผลไม้และสวนสาธารณะ
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- สวนยาง ชายป่า ป่ายางแดง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- เชียงใหม่
- เลย
- มุกดาหาร
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- กระบี่, ลำพูน, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำปิงตอนบน แม่น้ำแม่กวง
- ป่าภูหลวง
- ภูผาเทิบ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การกระจายพันธุ์ :
- นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ