ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดเล็ก (20 ซม.) บริเวณหัวมีสีดำและมีหงอนขนเล็กน้อยไม่ยาวมากนัก ด้านบนลำตัวสีน้ำตาล มีลายพาดสีออกขาว บริเวณขนคลุมโคนขนหางด้านบน ด้านล่างลำตัวและปลายขนหางสีขาวแกมเทา ขนบริเวณหูสีขาวแกมเทา บางตัวมีขนคลุมโคนขนหางด้านล่างสีแดง และบางตัวเป็นสีเหลือง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- หัวด้านบนดำมีหงอนสั้นเป็นสัน แก้มและคางเทาแกมขาว ลำตัวด้านบนน้ำตาลแกมเทา ลำตัวด้านล่างเทา ตะโพกขาว หางดำปลายขาวเป็นจุดเด่นขณะบิน มีภาวะขนสองแบบ คือ ก้นแดงและก้นเหลือง หรือบางตัวอาจเป็นสีส้ม
ระบบนิเวศ :
- ชายป่า พื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่เปิดโล่ง ที่ราบถึงความสูง 1,830 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
- พบตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่ารุ่น ทุ่งโล่ง สวนผลไม้ และที่กสิกรรมต่างๆ อาศัยหากินตามต้นไม้และพื้นดิน อาหารได้แก่ เมล็ดผลไม้ ผลไม้ แมลงและตัวหนอนต่างๆ
- สวนป่า/สวนสาธารณะ นกประจำถิ่น
- ระบบนิเวศป่าไม้, พื้นที่การทำเกษตร
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่,ลำพูน,ตาก
- เลย
- พะเยา
- น่าน
- น่าน
- ฉะเชิงเทรา
- พะเยา, อุตรดิตถ์, แพร่, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-มิถุนายน ทำรังเป็นรูปถ้วยด้วยกิ่งไม้ โดยใช้กิ่งไม้เล็กๆ และใบไม้ชั่ดสานเข้าด้วยกันเป็นรูปถ้วย ไข่สีขาวแกมชมพู มีลวดลายต่างๆ สีน้ำตาลแกมม่วงในแต่ละรังมีไข่ 2-3 ฟอง ใช้ระยะเวลาฟัก 14 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่แตง แม่น้ำลี้ แม่น้ำแม่แจ่ม แม่น้ำแม่ตื่น แม่น้ำปิง
- ป่าภูหลวง
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- บ้านดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร, เลี้ยงไว้ดูเล่น
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ

สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง