ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ขนาดใหญ่และลำตัวหนากว่าชนิดอื่น นกเพศผู้ หัว คอ หลัง ปีกและหางสีดำเป็นมัน ลำตัวด้านล่าง แถบปีก ตะโพกและ
ขอบหางสีแดงเข้ม แถบปักใหญ่แยกเป็นสองส่วน นกเพศเมียหน้าผาก ลำตัวด้านล่าง แถบปีก ตะโพกและขอบหางสีเหลืองสด ตำแหน่งแถบปีกเหมือนตัวผู้ นกวัยอ่อนคล้ายตัวเมียแต่ส่วนสีเหลืองเป็นสีส้ม หรือมีขนสีแดงแซม
- มีขานดประมาณ 17-21.5 เซนติเมตร ขนาดใหญ่และลำตัวหนากว่านกพญาไฟชนิดอื่น ตัวผู้ หัว คอ หลัง ปีก และหางดำเป็นมัน ลำตัวด้านล่าง แถบปีก ตะโพก และขอบหางแดงเข้ม แถบปีกใหญ่กว่านกพญาไฟแม่สะเรียงและมีจุดแดงแยกออกมา ตัวเมีย หน้าผาก ลำตัวด้านล่าง แถบปีก ตะโพก และขอบหางเหลืองสด ตำแหน่งแถบปีกเหมือนตัวผู้ นกวัยอ่อน คล้ายตัวเมีย แต่ส่วนสีเหลืองเป็นสีส้มหรือมีขนสีแดงแซม
ระบบนิเวศ :
- ป่าดิบ ป่าโปร่ง
- ระบบนิเวศป่าไม้, ป่าดิบเขา
- ระบบนิเวศภูเขา
- ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
- เชียงใหม่
- เลย
- อุบลราชธานี
- พะเยา
- น่าน
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- สระแก้ว
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ยวมฝั่งซ้าย, ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- ป่าภูหลวง
- ผาแต้ม
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- อำเภอเวียงสา และพื้นที่ใกล้เคียง
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ