ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกขนาดเล็ก (30 ซม.) ตัวผู้สีน้ำตาลแกมเทา มีลายแถบเด่นชัดสีขาว 4 แถบ
บริเวณตรงกลางของขนปลายปีก และ 2 แถบขนาดใหญ่บริเวณปลายหางด้านนอก
มีลายพาดรอบต้นคอสีสนิม คอหอยสีขาว ท้องและขนคลุมโคนขนหางด้านล่างสีเนื้อ
มีลายพาดขนาดเล็กสีเข้ม ตัวเมียลักษณะคล้ายตัวผู้ แต่ลายแถบที่ขนปลายปีกเล็กกว่า
และเป็นสีเนื้อแกมน้ำตาลเหลือง ขนปลายหางด้านนอกมีแถบสีเนื้อและแคบกว่า
แถบสีขาว
บริเวณตรงกลางของขนปลายปีก และ 2 แถบขนาดใหญ่บริเวณปลายหางด้านนอก
มีลายพาดรอบต้นคอสีสนิม คอหอยสีขาว ท้องและขนคลุมโคนขนหางด้านล่างสีเนื้อ
มีลายพาดขนาดเล็กสีเข้ม ตัวเมียลักษณะคล้ายตัวผู้ แต่ลายแถบที่ขนปลายปีกเล็กกว่า
และเป็นสีเนื้อแกมน้ำตาลเหลือง ขนปลายหางด้านนอกมีแถบสีเนื้อและแคบกว่า
แถบสีขาว
ระบบนิเวศ :
-
พบตามป่าโปร่ง หากินในเวลากลางคืน เวลากลางวันจะพักนอนตามพื้นดิน อาหารได้แก่ แมลงต่างๆ โดยวิธีใช้ปากจิกกินขณะบินอยู่ในอากาศ
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
สวนยาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
เชียงใหม่
-
เลย
-
พะเยา
-
กระบี่
-
อุตรดิตถ์, แพร่
-
ยะลา,ปัตตานี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-กรกฎาคม ทำรังตามพื้นตินโดยไม่มีวัสดุใดๆ ในการสร้างรัง เพียงแต่ขุดดินให้เป็นแอ่งเล็กน้อย แล้ววางไข่ ในแต่ละรังมีไข่ 2 ฟอง ไข่มีสีพื้นเป็นสีครีมแกมเหลือง ระยะเวลาฟักไข่ 15-16 วัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่ริม
-
ป่าภูหลวง
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่คำมี แพร่
-
พรุลานควาย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
การกระจายพันธุ์ :
-
นกประจำถิ่น
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |