ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- นก
- นกขนาดกลางถึงใหญ่ (61 ช.ม.) ขนคลุมลำตัวเป็นสีขาวทั้งตัว ปากและขาเป็นสีดำขณะที่ตีนเป็นสีเหลือง เมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์
จะมีหงอนขนลักษณะคล้ายเปียสองเส้น ตัวที่ไม่เต็มวัยสีของปาก ขา และตีนออกเป็นสีเทาแกมเขียว
- ขนาด 55-65 เซนติเมตร ปากเรียวตรงสีดำ หนังโคนปากสีเขียวเหลือง ขนคลุมลำตัวด้านบนและด้านล่างสีขาว แข้งสีดำ ตีนสีเหลือง นกวัยอ่อน ปากและหนังโคนปากสีเทา แข้งและตีนสีเทา ฤดูผสมพันธุ์ ท้ายทอยมีขนงอกยาวออกมาคล้ายเปีย 2 เส้น อก และหลังมีขนเส้นเล็กๆ งอกยาวออกมาเป็นพู่ แข้งสีดำ ตีนสีเหลือง เสียงร้อง “คร๊าก” หรือ “อ๊าก”
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ปากดำ หนังหน้าเทาหรือเขียวแกมเหลือง ขาดำ ตีนเหลือง ขนชุดผสมพันธุ์ : หนังหน้าชมพูแกมแดง ท้ายทอยมีขนเปียยาว 2 เส้น หน้าอกและหยังมีขนเจ้าชู้ยาวเด่นชัด ขาดำสนิท ตีนเหลืองส้มหนือบางตัวอาจเป็นสีแดง นกวัยอ่อน : ขาเทาเข้ม โคนปากและหน้าเทา
ระบบนิเวศ :
- ทุ่งนาและพื้นที่ชุ่มน้ำต่าง ๆ ทั้งน้ำจืดและน้ำเค็ม
- ปกติพบตามชายแหล่งน้ำจืดต่างๆ แต่ก็อาจพบได้ในนาเกลือ หรือใกล้ๆ กับทะเล มักจะหากินรวมกันเป็นกลุ่ม หรือฝูง แต่บางครั้งก็หากินโดดเดี่ยว อาหารได้แก่ ปลาต่างๆ นอกจากนี้ยังกินสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก และแมลงต่างๆ
- ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
- ระบบนิเวศเกษตร
- ระบบนิเวศป่าไม้
- ระบบนิเวศเกษตร
- ทุ่งหญ้า นาข้าว แอ่งน้ำขังในพรุ
- ระบบนิเวศแมน้ำ หนองน้ำ พื้นที่ชุมน้ำ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- นครพนม
- บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
- อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
- เชียงใหม่,กำแพงเพชร
- นนทบุรี
- พะเยา
- น่าน
- กระบี่
- สมุทรปราการ
- นนทบุรี
- ฉะเชิงเทรา
- นนทบุรี
- กรุงเทพมหานคร
- กรุงเทพมหานคร
- กระบี่, ระนอง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
- ยะลา,ปัตตานี
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- แม่น้ำสงครามตอนล่าง
- ลุ่มน้ำปิง, แม่น้ำแม่งัด แม่น้ำแม่แจ่ม คลองสวนหมาก
- พื้นที่เกษตรกรรม
- บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
- พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
- พรุลานควาย
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
- เชียงราย
การขยายพันธุ์ :
- ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม สร้างรังโดยใช้กิ่งไม้เล็กขัดสานกันเป็นรูปจานแบนๆ บริเวณง่ามต้นไม้ หรือกอไผ่ ไข่สีเขียวอมฟ้า ในแต่ละรังมีไข่ 3-4 ฟอง ใช้เวลาฟักไข่ 25-27 วัน
การกระจายพันธุ์ :
- นกประจำถิ่น, นกอพยพมาทำรังวางไข่
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ