ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นนากที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก เพศผู้มีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย หน้าค่อนข้างสั้น ลำตัวอ้วนสั้น แข็งแรง ลำตัวตอนบนสีน้ำตาลเทา ตอนล่างลำตัวสีอ่อนกว่า ใต้คางและคอด้านล่างสีขาวนวล มีเล็บสั้นทื่อโค้งไม่ยื่นออกมาพ้นปลายนิ้ว เยื่อระหว่างนิ้วเท้ามีเล็กน้อย ท้าให้นิ้วสามารถเคลื่อนไหวได้ดี สามารถหยิบจับวัตถุต่างๆได้ดี นากเล็กเล็บสั้นจึงมีประสาทสัมผัสอยู่ที่นิ้ว หางแข็ง หูเล็ก ขนสั้นเรียบเป็นมัน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พบในจีน พม่า อัสสัม เนปาล สิกขิม อินเดีย ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย บอร์เนียว สุมาตรา ชวา ฟิลิปปินส์
อาศัยอยู่ตามลำห้วยในป่า และพื้นที่ชุ่มน้ำอื่น ๆ รวมทั้งนาข้าว และป่าชายเลน
อาศัยอยู่ตามลำห้วยในป่า และพื้นที่ชุ่มน้ำอื่น ๆ รวมทั้งนาข้าว และป่าชายเลน
-
ป่าภูหลวง
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณเกาะเกร็ด และพื้นที่อื่นๆ เลียบแม่น้ำเจ้าพระยา
-
พรุลานควาย
สถานที่ชม :
-
สวนสัตว์เปิดเขาเขียว,สวนสัตว์เชียงใหม่,สวนสัตว์สงขลา,สวนสัตว์อุบลราชธานี
การกระจายพันธุ์ :
-
ทั่วประเทศ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ทั่วประเทศ
-
เลย
-
นนทบุรี
-
ปัตตานี,ยะลา
ระบบนิเวศ :
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ชายป่า ทุ่งหญ้า
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, )
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, )
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูถัมป์
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 6 Wild mammals in Thailand, 2543
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช