ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
การกระจายพันธุ์ :
-
เกือบทั่วประเทศยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก
ระบบนิเวศ :
-
Evergreen forest.
-
ระบบนิเวศภูเขา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แม่ฮ่องสอน,เชียงใหม่,ตาก,กำแพงเพชร,อุทัยธานี,กาญจนบุรี,ราชบุรี,เพชรบุรี,พิษณุโลก,เพชรบูรณ์,ชัยภูมิ,นคราชสีมา,ระนอง,ชุมพร,นครศรีธรรมราช,สุราษฎร์ธานี,ตรัง,กระบี่,ภูเก็ต,พังงา
-
เกือบทั่วประเทศยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก
-
เลย
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
บุรีรัมย์
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Mae Hong Son (Nam Pai, San Pan Dan, Namtok Mae Surin);
Chiang Mai (Doi Inthanon, Doi Chiang Dao); Tak (Thung Yai
Naresuan, Huai Nua Pla, Sam Ngao, Umphang);
Kamphaeng Phet (Me Wong); Uthai Thani (Huai Kha Kaeng);
Kanchanaburi (Salak Phra, Si Sawat); Ratchaburi (Maenam
Phachi); Phetchaburi (Kaeng Krachan); Phitsanulok (Thung
Salaeng Luang); Phetchabun (Nam Nao); Chaiyaphum (Phu
Khieo); Nakhon Ratchasima (Khao Yai); Ranong (Tabli, Ban
Klong Wan); Chumphon (Ban Tha San); Nakhon Si Thammarat
(Khao Luang); Surat Thani (Khlong Saeng, Tha Chana); Trang
(Khao Chong); Krabi (Ban Nong Kok, Ban Thap Plik);
Phangnga (Takua Thung); Phuket (Khlong Tung Sai).
Chiang Mai (Doi Inthanon, Doi Chiang Dao); Tak (Thung Yai
Naresuan, Huai Nua Pla, Sam Ngao, Umphang);
Kamphaeng Phet (Me Wong); Uthai Thani (Huai Kha Kaeng);
Kanchanaburi (Salak Phra, Si Sawat); Ratchaburi (Maenam
Phachi); Phetchaburi (Kaeng Krachan); Phitsanulok (Thung
Salaeng Luang); Phetchabun (Nam Nao); Chaiyaphum (Phu
Khieo); Nakhon Ratchasima (Khao Yai); Ranong (Tabli, Ban
Klong Wan); Chumphon (Ban Tha San); Nakhon Si Thammarat
(Khao Luang); Surat Thani (Khlong Saeng, Tha Chana); Trang
(Khao Chong); Krabi (Ban Nong Kok, Ban Thap Plik);
Phangnga (Takua Thung); Phuket (Khlong Tung Sai).
-
พบในพม่าแถบเทือกเขาตะนาวศรี ไทย ลาวและทางด้านตะวันออกของแม่น้ำสาละวิน ทางด้านตะวันตกของแม่น้ำโขงในลาว ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของยูนนาน มาเลเซีย และทางด้านทิศเหนือของเกาะสุมาตรา
-
พื้นที่ชุ่มน้ำอุทยานแห่งชาติแหลมสน-ปากแม่น้ำกระบุรี-ปากคลองกะเปอร์
-
ป่าภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ชะนีมือขาวมีทั้งสีดำและสีขาว ส่วนหลังมือและหลังเท้าเป็นสีขาวและมีวงขาวรอบใบหน้า ใบหน้าและหูดำ มือยาว รูปร่างเพรียว ไม่มีหาง
สถานที่ชม :
-
สวนสัตว์เปิดเขาเขียว,สวนสัตว์เชียงใหม่,สวนสัตว์นครราชสีมา,สวนสัตว์สงขลา,สวนสัตว์อุบลราชธานี
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (IUCN, )
ที่มาของข้อมูล
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
-
Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians, 2005
-
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูถัมป์
-
OEPP Biodiversity Series Vol. 6 Wild mammals in Thailand, 2543
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ข้อมูลสภานภาพ CITES
CITES โลก
- บัญชีหมายเลข I (ประกาศใช้เมื่อ 1975-07-01)
CITES ไทย
- บัญชีหมายเลข I
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |