ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น (Tree)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 15 เมตร ปลายกิ่งห้อยย้อย มีรากอากาศ ใบ: ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรีหรือรูปไข่ กว้าง 2.5-4.5 เซนติเมตร ยาว 5-9 เซนติเมตร ปลายใบป้านและมีติ่งมน โคนใบมนและขอบใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายหนัง ก้านใบเกลี้ยงยาว 1.5-2.0 เซนติเมตร หูใบหุ้มตายอด รูปหอกยาว 0.7-1.0 เซนติเมตร ร่วงง่ายและด้านนอกมีขนสั้นประปรายเกือบเกลี้ยง ดอก: ช่อดอกแบบไซโคเนียม ออกเป็นคู่ที่ซอกใบ มีสีเขียวและเปลี่ยนเป็นสีเหลืองเมื่อสุกเต็มที่ ภายในมีดอกย่อยจำนวนมากและมีรูปร่างค่อนข้างกลมหรือรูปไข่กลับ กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 1.1-1.3 เซนติเมตร บริเวณรอบรูเปิดมีใบประดับขนาดเล็กจำนวนมาก ดอกเพศผู้ยาว 3 มิลลิเมตร กระจายทั้งช่อดอก กลีบรวม 2-3 กลีบสีขาวหรือโคนกลีบสีน้ำตาลแดง แยกอิสระ เกสรเพศผู้ส่วนมากมี 1 ก้านชูอับเรณูหนาแข็ง เรียวยาวและโคนเชื่อมติดกันเล็กน้อยหรือ ดอกเพศเมีย มีกลีบรวม สีแดง 3 กลีบแยกอิสระ ไม่มีก้านดอก รังไข่กลมรียาว ยาว 1 มิลลิเมตร ก้านเกสรเพศเมียสั้น 1.5 มิลลิเมตร ปลายยอดเกสรเพศเมียเรียว ดอกกอลเป็น ดอกเพศเมียยาว ยาว 1-2 มิลลิเมตร รังไข่กลมยาว 1-1.5 มิลลิเมตร และมีก้านเกสรเพศเมียประมาณ 1.5 มิลลิเมตร ซึ่งสั้นกว่าดอกเพศเมียทั่วไป ภายในรังไข่ของดอกกอลมีการวางไข่ของแมลงเกิดขึ้น ผล: เมล็ดค่อนข้างกลม หรือรูปไข่ ขนาดเล็ก กว้าง 0.7 มิลลิเมตร และยาว 1.0 มิลลิเมตร
-
ไม้ต้นสูง 5-10 เมตร ไม่ผลัดใบ มีรากอากาศห้อยย้อยสวยงาม ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปรีแกมรูปไข่ กว้าง 2.5-5 เซนติเมตร ยาว 5-11 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลมโคนสอบ แผ่นใบค่อนข้างหนาเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบเกิดภายในฐานรองดอก ทรงกลมคล้ายผลไม่มีกลีบดอก ผล กลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.8 เซนติเมตร เมื่อสุกสีเหลือง
-
ไม้ต้นไม่ผลัดใบขนาดใหญ่ สูง 15-25 ม. เรือนยอดแผ่กว้าง มีรากอากาศเรียวเป็นสายยาวตามกิ่ง เปลือกเรียบสีน้ำตาลเทา มียางข้นสีขาวคล้ายน้ำนม
ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ แผ่นใบรูปรีแกมรูปไข่กลับ หรือรูปไข่กว้าง ขนาด 3-6x4-10 ซม. โคนใบ รูปลิ่ม ขอบใบเรียบ ปลายใบติ่งมนถึงแหลมทื่อ เส้นใบแบบร่างแหขนนก เส้นกลางใบราบ สีขาวนวล เส้นแขนงออกจากโคนใบ 1 คู่ และออกจากเส้นกลางใบ 8-10 คู่ ปลายเส้นจรดกันก่อนถึงขอบใบ เส้นใบย่อยสานกันเป็นร่างแห มีเส้นใบแซมระหว่างเส้นแขนง ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมันวาว ด้านล่างสีซีดกว่า เนื้อใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. แบน ด้านบนเป็นร่องตรงกลาง หูใบรูปใบหอก มี 2 อัน ประกบกันหุ้มยอดอ่อน ยาว 1-1.5 ซม. หลังร่วงแล้วทิ้งรอยแผลเป็นวงนูน
ดอก ช่อดอกมีลักษณะคล้ายผล (หน่วยผล) ไม่มีก้าน มักออกเดี่ยว ๆ หรือออกเป็นคู่ตามง่ามใบ ดอกแยกเพศอยู่ร่วมต้น เจริญอยู่ภายในฐานดอกที่ขยายใหญ่เป็นกระเปาะมีรูเปิดที่ปลาย ฐานหน่วยผลมีใบประดับรูปใบหอกแกมรูปไข่ 3 ใบ คล้ายกลีบเลี้งรองรับฐานหน่วยผล ติดคงทน ปลายหน่วยผล มีขนาดเล็ก แบน 2-ปิดรูเปิด ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบรวม 3(4) กลีบ รูปทรงไข่ แกมรูปช้อน แยกกันเป็นอิสระ ออกดอกระหว่างเดือนกันยายน-มกราคม
ผล แบบผลมะเดื่อ ค่อข้างกลม ป่องตอนปลายคล้ายรูปตุ่มน้ำ กว้างและยาวประมาณ 0.8-1.2 ซม. มีเนื้ออวบน้ำ สีเขียวมีจุดนูนสีขาว เมื่อสุกเปลี่ยนเป็นสีชมพู สีม่วงคล้ำถึงดำ ภายในประกอบด้วย ผลย่อยแบบผลเมล็ดเดียวแข็ง ขนาดเล็ก จำนวนมาก ออกผลระหว่างเดือนกันยายน-มกราคม
ใบ เดี่ยว เรียงเวียนสลับ แผ่นใบรูปรีแกมรูปไข่กลับ หรือรูปไข่กว้าง ขนาด 3-6x4-10 ซม. โคนใบ รูปลิ่ม ขอบใบเรียบ ปลายใบติ่งมนถึงแหลมทื่อ เส้นใบแบบร่างแหขนนก เส้นกลางใบราบ สีขาวนวล เส้นแขนงออกจากโคนใบ 1 คู่ และออกจากเส้นกลางใบ 8-10 คู่ ปลายเส้นจรดกันก่อนถึงขอบใบ เส้นใบย่อยสานกันเป็นร่างแห มีเส้นใบแซมระหว่างเส้นแขนง ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมันวาว ด้านล่างสีซีดกว่า เนื้อใบหนาคล้ายแผ่นหนัง ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. แบน ด้านบนเป็นร่องตรงกลาง หูใบรูปใบหอก มี 2 อัน ประกบกันหุ้มยอดอ่อน ยาว 1-1.5 ซม. หลังร่วงแล้วทิ้งรอยแผลเป็นวงนูน
ดอก ช่อดอกมีลักษณะคล้ายผล (หน่วยผล) ไม่มีก้าน มักออกเดี่ยว ๆ หรือออกเป็นคู่ตามง่ามใบ ดอกแยกเพศอยู่ร่วมต้น เจริญอยู่ภายในฐานดอกที่ขยายใหญ่เป็นกระเปาะมีรูเปิดที่ปลาย ฐานหน่วยผลมีใบประดับรูปใบหอกแกมรูปไข่ 3 ใบ คล้ายกลีบเลี้งรองรับฐานหน่วยผล ติดคงทน ปลายหน่วยผล มีขนาดเล็ก แบน 2-ปิดรูเปิด ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบรวม 3(4) กลีบ รูปทรงไข่ แกมรูปช้อน แยกกันเป็นอิสระ ออกดอกระหว่างเดือนกันยายน-มกราคม
ผล แบบผลมะเดื่อ ค่อข้างกลม ป่องตอนปลายคล้ายรูปตุ่มน้ำ กว้างและยาวประมาณ 0.8-1.2 ซม. มีเนื้ออวบน้ำ สีเขียวมีจุดนูนสีขาว เมื่อสุกเปลี่ยนเป็นสีชมพู สีม่วงคล้ำถึงดำ ภายในประกอบด้วย ผลย่อยแบบผลเมล็ดเดียวแข็ง ขนาดเล็ก จำนวนมาก ออกผลระหว่างเดือนกันยายน-มกราคม
-
ไม้ต้นสูง 5-10 เมตร ไม่ผลัดใบ มีรากอากาศห้อยย้อยสวยงาม ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปรีแกมรูปไข่ กว้าง 2.5-5 เซนติเมตร ยาว 5-11 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลมโคนสอบ แผ่นใบค่อนข้างหนาเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบเกิดภายในฐานรองดอก ทรงกลมคล้ายผลไม่มีกลีบดอก ผล กลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.8 เซนติเมตร เมื่อสุกสีเหลือง
-
ไม้ต้นสูง 5-10 เมตร ไม่ผลัดใบ มีรากอากาศห้อยย้อยสวยงาม ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปรีแกมรูปไข่ กว้าง 2.5-5 เซนติเมตร ยาว 5-11 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลมโคนสอบ แผ่นใบค่อนข้างหนาเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบเกิดภายในฐานรองดอก ทรงกลมคล้ายผลไม่มีกลีบดอก ผล กลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.8 เซนติเมตร เมื่อสุกสีเหลือง
-
ไม้ต้นสูง 5-10 เมตร ไม่ผลัดใบ มีรากอากาศห้อยย้อยสวยงาม ใบเดี่ยว เรียงสลับ แผ่นใบรูปรีแกมรูปไข่ กว้าง 2.5-5 เซนติเมตร ยาว 5-11 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลมโคนสอบ แผ่นใบค่อนข้างหนาเป็นมัน ดอกออกเป็นช่อตามซอกใบเกิดภายในฐานรองดอก ทรงกลมคล้ายผลไม่มีกลีบดอก ผล กลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.8 เซนติเมตร เมื่อสุกสีเหลือง
ระบบนิเวศ :
-
พบในป่าดิบแล้ง ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา หรือเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดจากประเทศอินเดียและภูมิภาคมาเลเซีย
-
ประเทศศรีลังกา อินเดีย ตอนใต้ของจีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หมู่เกาะริวกิว ถึงนิวบริเท็น
-
มีถิ่นกำเนิดจากประเทศอินเดียและภูมิภาคมาเลเซีย
-
มีถิ่นกำเนิดจากประเทศอินเดียและภูมิภาคมาเลเซีย
-
มีถิ่นกำเนิดจากประเทศอินเดียและภูมิภาคมาเลเซีย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
ผาแต้ม
-
เกาะกระ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาวงจันแดง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุบลราชธานี
-
นครศรีธรรมราช
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
ระยอง
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
เชียงราย, พะเยา
-
นครศรีธรรมราช
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
แพร่
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ราชบุรี
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
พะเยา
-
พะเยา
-
สมุทรปราการ
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
พันธุ์ไม้ป่าชายเลน, กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2563
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
พื้นที่บางกระเจ้า
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |